ปลาหางเหลือง
หน้าตา
ปลาหางเหลือง | |
---|---|
Seriola quinqueradiata | |
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
โดเมน: | ยูแคริโอตา Eukaryota |
อาณาจักร: | สัตว์ Animalia |
ไฟลัม: | สัตว์มีแกนสันหลัง Chordata |
ชั้น: | ปลาที่มีก้านครีบ Actinopterygii |
อันดับ: | Carangiformes |
วงศ์: | วงศ์ปลาหางแข็ง |
สกุล: | สกุลปลาหางเหลือง Temminck & Schlegel, 1845 |
สปีชีส์: | Seriola quinqueradiata |
ชื่อทวินาม | |
Seriola quinqueradiata Temminck & Schlegel, 1845 | |
ชื่อพ้อง[2] | |
|
ปลาหางเหลือง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Seriola quinqueradiata) หรือ บุริ (ญี่ปุ่น: 鰤; โรมาจิ: buri) เป็นปลาน้ำเค็ม ชนิดหนึ่งที่อยู่ในสกุลปลาหางเหลือง วงศ์ปลาหางแข็ง อันดับปลากะพง เป็นปลากินเนื้อเนื้อขนาดใหญ่อพยพที่อาศัยอยู่ใน มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ เป็นปลาที่ทำเป็นอาหารได้ที่สำคัญในญี่ปุ่น และมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างลึกซึ้งในวัฒนธรรมและอุตสาหกรรมท้องถิ่น
คุณค่าทางโภชนาการ
[แก้]คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์) | |
---|---|
พลังงาน | 1,075 กิโลจูล (257 กิโลแคลอรี) |
0.3 กรัม | |
17.6 กรัม | |
อิ่มตัว | 4.42 กรัม |
ไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่เดี่ยว | 4.35 กรัม |
ไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่หลายคู่ | 3.72 กรัม |
21.4 กรัม | |
วิตามิน | |
วิตามินเอ | (6%) 50 μg |
ไทอามีน (บี1) | (20%) 0.23 มก. |
ไรโบเฟลวิน (บี2) | (30%) 0.36 มก. |
ไนอาซิน (บี3) | (63%) 9.5 มก. |
(20%) 1.01 มก. | |
วิตามินบี6 | (32%) 0.42 มก. |
โฟเลต (บี9) | (2%) 7 μg |
วิตามินบี12 | (158%) 3.8 μg |
วิตามินซี | (2%) 2 มก. |
วิตามินดี | (53%) 8.0 μg |
วิตามินอี | (13%) 2.0 มก. |
แร่ธาตุ | |
แคลเซียม | (1%) 5 มก. |
เหล็ก | (10%) 1.3 มก. |
แมกนีเซียม | (7%) 26 มก. |
แมงกานีส | (0%) 0.01 มก. |
ฟอสฟอรัส | (19%) 130 มก. |
โพแทสเซียม | (8%) 380 มก. |
โซเดียม | (2%) 32 มก. |
สังกะสี | (7%) 0.7 มก. |
องค์ประกอบอื่น | |
น้ำ | 59.6 กรัม |
คอเลสเตอรอล | 72 มิลลิกรัม |
ไบโอติน (B7) | 7.7 ไมโครกรัม |
ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่ |
รายการ | ปริมาณ (กรัม) |
---|---|
ไขมัน ทั้งหมด | 17.6 |
กรดไขมัน ทั้งหมด | 13 |
กรดไขมันอิ่มตัว | 4.4 |
กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยว | 4.3 |
กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน | 3.7 |
กรดไลโนเลอิก 18:2 (n-6) | 0.19 |
18:3 (n-3) กรดอัลฟา-ไลโนเลนิก | 0.1 |
20:4 (n-6) กรดอะราคิโดนิก | 0.15 |
20:5 (n-3) กรดไอโคซาเพนตะอีโนอิก (EPA) | 0.32 |
22:6 (n-3) กรดโดโคซาเฮกซาอีโนอิก (DHA) | 1.7 |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Smith-Vaniz, W.F. & Williams, I. (2017) [errata version of 2016 assessment]. "Seriola quinqueradiata". IUCN Red List of Threatened Species. 2016: e.T20435860A115383171. doi:10.2305/IUCN.UK.2016-3.RLTS.T20435860A65927987.en.
- ↑ Froese, Rainer and Pauly, Daniel, eds. (2019). "Seriola quinqueradiata" in FishBase. August 2019 version.
- ↑ 文部科学省『日本食品標準成分表2015年版(七訂)』
- ↑ กระทรวงสาธารณสุข แรงงาน และสวัสดิการ『日本人の食事摂取基準(2015年版)』
- ↑ 五訂増補日本食品標準成分表
- ↑ 五訂増補日本食品標準成分表 脂肪酸成分表編