ข้ามไปเนื้อหา

ประลัยอิเล็กตรอน–โพซิตรอน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ประลัยอิเล็กตรอน-โพซิตรอนเกิดขึ้นตามธรรมชาติเป็นผลมาจากการสลายตัวเบต้าบวก
แผนภาพไฟน์แมนของประลัยอิเล็กตรอน-โพสิตรอน

ประลัยอิเล็กตรอน–โพซิตรอน (Electron–positron annihilation) เกิดขึ้นเมื่ออิเล็กตรอน (e-) และโพซิตรอน (e+), ปฏิยานุภาคของอิเล็กตรอน) เข้าปะทะกัน ผลจากการปะทะกันคือประลัยของอิเล็กตรอนและโพซิตรอนและมีการสร้างโฟตอนรังสีแกมมาหรืออนุภาคพลังงานสูงอื่น ๆ

e- + e+ → γ + γ

กระบวนการต้องเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์ อันได้แก่ :

เช่นเดียวกับวัตถุสองประจุใด ๆ, อิเล็กตรอนและโพสิตรอนก็อาจเกิดปฏิกิริยากับแต่ละอนุภาคอื่น ๆ โดยไม่ต้องมีประลัยในกรณีทั่ว ๆ ไปโดยเกิดการกระเจิงแบบยืดหยุ่น (elastic scattering)

กรณีพลังงานต่ำ

[แก้]

มีเพียงกลุ่มอนุภาคที่จำกัดมากของความเป็นไปได้สำหรับสถานะขั้นสุดท้าย ที่เป็นไปได้มากที่สุดคือการถูกสร้างขึ้นของโฟตอนรังสีแกมมาจำนวนสองอนุภาคหรือมากกว่านั้น การอนุรักษ์พลังงานและโมเมนตัมเชิงเส้นนั้นห้ามการสร้างเพียงโฟตอนเพียงอนุภาคเดียว (ข้อยกเว้นของกฎนี้สามารถเกิดขึ้นได้สำหรับพันธะอิเล็กตรอนของอะตอมอย่างแน่นหนา [1]) ในกรณีที่พบมากที่สุด, โฟตอนสองอนุภาคจะถูกสร้างขึ้น, แต่ละอนุภาคจะมีพลังงานเท่ากับพลังงานนิ่งของอิเล็กตรอนหรือโพสิตรอน (511 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์) [2] เป็นความสะดวกต่อการอ้างอิงถึงกรอบอ้างอิง (frame of reference) ที่อยู่ในระบบซึ่งไม่มีโมเมนตัมเชิงเส้นสุทธิ (no net linear momentum) ก่อนเกิดประลัย; ดังนั้นหลังจากการชนกัน, รังสีแกมมาก็จะถูกปลดปล่อยออกมาในทิศทางตรงข้ามกัน

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. L. Sodickson, W. Bowman, J. Stephenson, R. Weinstein (1970). "Single-Quantum Annihilation of Positrons". Physical Review. 124: 1851. Bibcode:1961PhRv..124.1851S. doi:10.1103/PhysRev.124.1851.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  2. W.B. Atwood, P.F. Michelson, S.Ritz (2008). "Una Ventana Abierta a los Confines del Universo". Investigación y Ciencia. 377: 24–31.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) (สเปน)