บาซูกา
บาซูกา | |
---|---|
เอ็ม1 บาซูกา | |
ชนิด | อาวุธจรวดต่อต้านรถถังแบบไร้แรงสะท้อนถอยหลัง & เครื่องยิงระเบิดซึ่งขับเคลื่อนด้วยจรวด |
แหล่งกำเนิด | สหรัฐอเมริกา |
บทบาท | |
ประจำการ | 1942-present |
ผู้ใช้งาน | See Users |
สงคราม | |
ประวัติการผลิต | |
ผู้ออกแบบ | Edward Uhl[2] |
ช่วงการออกแบบ | 1942 |
ช่วงการผลิต | June 1942 – May 1945 (2.36 inch bazookas) |
จำนวนที่ผลิต | 112,790 (M1) [3] 59,932 (M1A1) [4] 26,087 (M9)[5] 277,819 (M9A1)[5] ? (M20) 1,500 (M25) [6] |
M1 บาซูกา เป็นอาวุธเครื่องยิงจรวดต่อสู้รถถังแบบไร้แรงสะท้อนถอยหลังขนาดพกพา ได้ถูกใช้งานอย่างแพร่หลายโดยกองทัพสหรัฐ ยังถูกเรียกอีกว่า"สโตฟไพพ์"(Stovepipe) นวัตกรรมอย่างบาซูกาคืออาวุธต่อต้านรถถังที่ขับเคลื่อนด้วยจรวดรุ่นแรกที่ถูกใช้โดยทหารราบในสนามรบ จุดที่โดดเด่นที่สุดคือจรวดเชื้อเพลิงแข็งสำหรับการขับเคลื่อน มันสามารถใช้ได้กับหัวรบระเบิดแรงสูงต่อต้านรถถังที่จะยิงเข้าใส่กับยานพาหนะหุ้มเกราะ รังปืนกล และป้อมปราการบังเกอร์ที่อยู่ในระยะพิสัยไกลกว่าการขว้างระเบิดมือหรือทุ่นระเบิด ชื่อเล่นของมันที่ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลาย เกิดขึ้นมาจากอาวุธเครื่องยิงจรวดรุ่นเอ็ม1 ที่มีความคล้ายคลึงกับเครื่องดนตรีที่ถูกเรียกว่า "บาซูกา" ซึ่งถูกคิดค้นและเป็นที่นิยมในปี ค.ศ. 1930 นักแสดงตลกชาวสหรัฐ บ็อบ เบิรน์
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพเยอรมันได้ยึดบาซูกามาหลายกระบอกในการทัพแอฟริกาเหนือในช่วงแรก[7][8] และได้เผชิญหน้าในแนวรบด้านตะวันออก และในไม่ช้าวิศวกรรมผันกลับของพวกเขาได้ออกแบบรุ่นที่เป็นของพวกเขาเอง[9] ด้วยการเพิ่มขนาดหัวรบที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 8.8 ซม (แม้ว่าหัวรบอื่นๆจะมีการเปลี่ยนแปลงที่เล็กน้อย) และได้ถูกใช้อย่างหลายที่ถูกเรียกว่า ราเกเทนพันแซร์บืชเซอ "พันแซร์เชร็ค" (รถถังสยอง)[10] เมื่อสงครามใกล้จะยุติลง ญี่ปุ่นได้พัฒนาอาวุธที่มีความคล้ายคลึง เครื่องยิงจรวดต่อต้านรถถัง 70 มม. ไทป์ 4 ซึ่งเป็นระเบิดซึ่งขับเคลื่อนด้วยจรวดที่การออกแบบแตกต่างกัน[11]
คำว่า "บาซูกา" ยังคงเห็นว่าถูกใช้อย่างไม่เป็นทางการซึ่งเป็นศัพท์ทั่วไปที่อ้างถึงอาวุธขีปนาวุธที่ยิงด้วยการประทับบ่าจากภาคพื้นดินต่อภาคพื้นดิน (ส่วนใหญ่เป็นเครื่องยิงระเบิดซึ่งขับเคลื่อนด้วยจรวดหรือปืนไรเฟิลแบบไร้แรงสะท้อนถอย)
ผู้ใช้
[แก้]- อาร์เจนตินา: Super Bazooka,[12] replaced by AT4
- ออสเตรเลีย: Super Bazooka[12]
- ออสเตรีย: : Super Bazooka[12]
- บังกลาเทศ[13]
- เบลเยียม:RL-83[14]
- โบลิเวีย: Super Bazooka[12]
- บราซิล: Bazooka[15] and Super Bazooka[16]
- กัมพูชา[ต้องการอ้างอิง]
- แคนาดา: Bazooka[17] and Super Bazooka[12]
- ชิลี: Super Bazooka[18]
- จีน: large numbers of 2.36-inch and 3.5-inch bazookas were captured by the Chinese Communists during the Chinese Civil War[19] and Korean War.[20] China also copied the 3.5-inch as the Type 51[21] — with a projectile 90 mm in diameter. The Type 51 can fire captured 3.5-inch projectiles (i.e. 90 mm), but 3.5-inch Super Bazookas cannot load projectiles made for the Type 51.
- สาธารณรัฐจีน[22]
- คิวบา: Super Bazooka[12] During the Bay of Pigs Invasion, the anti-Castrist Brigade 2506 used 2.36-in bazookas against Castro's T-34s.[23]
- ไซปรัส[ต้องการอ้างอิง]
- ฝรั่งเศส: Bazooka[17] and Super Bazooka[22]
- ไรช์เยอรมัน: used captured M1s as 6 cm Raketenpanzerbüchse 788 (a) [24]
- เยอรมนีตะวันตก: Super Bazooka[12]
- กรีซ: Super Bazooka[25]
- กัวเตมาลา: Super Bazooka[18]
- กินี-บิสเซา: Super Bazooka[18]
- อินโดนีเซีย: Super Bazooka[18]
- อินเดีย: Super Bazooka[12]
- อิสราเอล: M20A1[1]
- อิตาลี: M20A1 and RL-83 variants[26]
- อิรัก
- ญี่ปุ่น: JGSDF used Super Bazooka,[12] replaced by the Carl Gustav recoilless rifle
- เกาหลีใต้: Super Bazooka[12]
- ไลบีเรีย: Super Bazooka[18]
- ลักเซมเบิร์ก: Super Bazooka[12]
- มาเลเซีย: Super Bazooka[27]
- มาลาวี: Super Bazooka[18]
- เม็กซิโก[28]
- โมร็อกโก : Super Bazooka M20[29]
- พม่า: Super Bazooka[12]
- เนปาล[30]
- เนเธอร์แลนด์ The M9A1 was used for a short period of time by the Dutch Army as the Raketwerper 2,36 inch. It served from the beginning of the '50s to the end of the '60s with the Landmacht as an instructional weapon, with the Troepenmacht in Suriname (TRIS, troop force in Surinam, part of the Landmacht), and the Nederlands Detachement Verenigde Naties (N.D.V.N.), Dutch Detachment United Nations) in 1950-1951 during the Korean War.[31] During the very same Korean War, the 2.36-inch Bazooka was replaced by the 3.5-inch M20. Although it replaced the M9A1 in 1951 with the N.D.V.N., the weapon was not introduced into the Landmacht until 1954. The M20 and M20B1 were later replaced by the 66 mm LAW in 1968, but the Bazooka remained in inventory for reservists, mobilisation, and other non-priority uses until 1989.[32]
- นิวซีแลนด์[13]
- ไนจีเรีย : Super Bazooka M20[33]
- เกาหลีเหนือ[34]
- นอร์เวย์: Super Bazooka[35]
- ปากีสถาน: Super Bazooka[12]
- ปารากวัย[ต้องการอ้างอิง]
- ฟิลิปปินส์: Super Bazooka[12]
- โปรตุเกส: Super Bazooka[12]
- โรดีเชีย: Super Bazooka[12][36]
- เอลซัลวาดอร์: Super Bazooka[18]
- เซียร์ราลีโอน: Super Bazooka[18]
- แอฟริกาใต้: Super Bazooka[12]
- สหภาพโซเวียต: Bazooka[17]
- สเปน M20 Bazooka and improved designs (M53, M58 and M65).[37]
- สวีเดน: Super Bazooka[12] as Raketgevär 46, entered service concurrently with the Carl Gustav recoilless rifle as the Bazooka was war tested and the Carl was untried. The bazooka was later completely replaced by the Carl Gustav
- ไต้หวัน: Super Bazooka[12]
- ไทย: Super Bazooka[12] as คจตถ. 3.5 นิ้ว in Royal Thai Army, replaced by Type 69 RPG
- ตูนิเซีย: Super Bazooka[12]
- ตุรกี: Super Bazooka[12]
- สหราชอาณาจักร: Bazooka[17] and Super Bazooka[12]
- สหรัฐอเมริกา
- เวียดนามใต้: M9A1 and M20A1 variants[38]
- เวียดนาม: Type 51 Bazooka, used by Viet Minh and Viet Cong[39]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 David Campbell (2016). Israeli Soldier vs Syrian Soldier : Golan Heights 1967–73. Combat 18. illustrated by Johnny Shumate. Osprey Publishing. p. 78. ISBN 9781472813305.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อUHL
- ↑ Rottman 2012, p. 17.
- ↑ Rottman 2012, p. 19.
- ↑ 5.0 5.1 Rottman 2012, p. 20 .
- ↑ Rottman 2012, p. 29.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อMC 2008
- ↑ With cheap cost per use and which any 'farm peasant can be trained to fire', the AT4 CS is the modern-day descendant of the Bazooka (paraphrased conclusion).
- ↑ MC 2008
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อMC 20083
- ↑ Gordon L. Rottman (2014). Panzerfaust and Panzerschreck. Osprey Publishing. ISBN 1782007881.
- ↑ 12.00 12.01 12.02 12.03 12.04 12.05 12.06 12.07 12.08 12.09 12.10 12.11 12.12 12.13 12.14 12.15 12.16 12.17 12.18 12.19 12.20 12.21 12.22 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อRottman 2012 71
- ↑ 13.0 13.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อSupicaNahas2022
- ↑ Wiener 1987, p. 478.
- ↑ Maximiano, Cesar; Bonalume, Ricardo N (2011). Brazilian Expeditionary Force in World War II. Men at Arms 465. Osprey Publishing. p. 45. ISBN 9781849084833.
- ↑ J 1996, p. 300.
- ↑ 17.0 17.1 17.2 17.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อRottman 2012 38
- ↑ 18.0 18.1 18.2 18.3 18.4 18.5 18.6 18.7 Gander, Terry J.; Cutshaw, Charles Q., บ.ก. (2001). Jane's Infantry Weapons 2001/2002 (27th ed.). Coulsdon: Jane's Information Group. ISBN 9780710623171.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อappleman17_18
- ↑ Rottman, Gordon L. (December 2002). Korean War Order of Battle: United States, United Nations, and Communist Ground, Naval, and Air Forces, 1950-1953. Praeger. p. 199. ISBN 978-0-275-97835-8.
- ↑ Small Arms Survey (2015). "Red Flags and Buicks: Global Firearms Stockpiles". Small Arms Survey 2002: Counting the Human Cost. Oxford University Press. p. 71. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-03-03. สืบค้นเมื่อ 2019-07-03.
- ↑ 22.0 22.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อRottman 2012 70
- ↑ de Quesada, Alejandro (10 Jan 2009). The Bay of Pigs: Cuba 1961. Elite 166. pp. 41, 60. ISBN 9781846033230.
- ↑ Rottman 2012, p. 4.
- ↑ Wiener 1987, p. 308.
- ↑ Wiener 1987, p. 300.
- ↑ Wu, Shang-su (2016). The Defence Capabilities of Small States: Singapore and Taiwan’s Responses to Strategic Desperation. Critical Studies of the Asia-Pacific. Palgrave Macmillan UK. p. 90. doi:10.1057/9781137497161. ISBN 978-1-137-49716-1.
- ↑ Malkin, Elisabeth (1 October 2018). "50 Years After a Student Massacre, Mexico Reflects on Democracy". The New York Times.
- ↑ Anthony Cordesman (2016). After The Storm: The Changing Military Balance in the Middle East. Bloomsbury Publishing. p. 112. ISBN 978-1-4742-9257-3.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อArnold2022
- ↑ Martien Talens. De ransel op de rug, deel 2 (ภาษาดัตช์). Brabantia Nostra. p. 392.
- ↑ Martien Talens. De ransel op de rug, deel 2 (ภาษาดัตช์). Brabantia Nostra. p. 394.
- ↑ Jowett, Philip (2016). Modern African Wars (5) : The Nigerian-Biafran War 1967-70. Oxford: Osprey Publishing Press. p. 20. ISBN 978-1472816092.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อDPRK
- ↑ Wiener 1987, p. 269.
- ↑ Neil Grant (2015). Rhodesian Light Infantryman: 1961-1980. Osprey Publishing. p. 22. ISBN 1472809629.
- ↑ Wiener 1987, p. 337.
- ↑ Gordon L. Rottman (2010). Army of the Republic of Vietnam 1955–75. Vol. Men-at-Arms 458. Osprey Publishing. p. 7. ISBN 9781849081818.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อVietnam