ข้ามไปเนื้อหา

บันไดเสียงไมเนอร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ในทฤษฎีดนตรี บันไดเสียงไมเนอร์ (อังกฤษ: minor scale) เป็นบันไดเสียงที่ซับซ้อนกว่าบันไดเสียงเมเจอร์ เพราะมีการสร้างบันไดเสียงนี้ได้สามรูปแบบ ได้แก่ บันไดเสียงเนเชอรัลไมเนอร์ (หรือ โหมดเอโอเลียน), บันไดเสียงฮาร์มอนิกไมเนอร์, และบันไดเสียงเมโลดิกไมเนอร์ (ขาขึ้นหรือขาลง)[1] แต่บันไดเสียงเมเจอร์มีรูปแบบเดียว


\relative c' { 
  \clef treble \time 7/4 \hide Staff.TimeSignature
  c4^\markup { บันไดเสียงซีเนเชอรัลไมเนอร์ } d es f g aes bes c2
  }

\relative c' { 
  \clef treble \time 7/4 \hide Staff.TimeSignature
  c4^\markup { บันไดเสียงซีฮาร์มอนิกไมเนอร์ } d es f g aes b!? c2
  }

\relative c' { 
  \clef treble \time 7/4 \hide Staff.TimeSignature
  c4^\markup { บันไดเสียงซีเมโลดิกไมเนอร์ } d es f g a!? b!?
  c bes aes g f es d
  c2
  }

บันไดเสียงเนเชอรัลไมเนอร์

[แก้]

บันไดเสียงเนเชอรัลไมเนอร์ (อังกฤษ: natural minor scale; หรือโหมดเอโอเลียน) เป็นบันไดเสียงไดอาโทนิกชนิดหนึ่งที่ถูกสร้างขึ้นมาโดยเริ่มจากลำดับโน้ตขั้นที่ 6 ของบันไดเสียงเมเจอร์ ตัวอย่างเช่น บันไดเสียงเอเนเชอรัลไมเนอร์สามารถสร้างขึ้นโดยเริ่มจากลำดับโน้ตขั้นที่ 6 ของบันไดเสียงซีเมเจอร์


\relative c' { 
  \clef treble \time 7/4 \hide Staff.TimeSignature c4^\markup { บันไดเสียงซีเมเจอร์ } d e f g
\override NoteHead.color = #red a \override NoteHead.color = #black b c2 \bar "||"
  \time 9/4 \hide Staff.TimeSignature \override NoteHead.color = #red a,4^\markup { บันไดเสียงเอเนเชอรัลไมเนอร์ } \override NoteHead.color = #black b c d e f g a2 }

อ้างอิง

[แก้]
  1. Kostka, Stefan; Payne, Dorothy (2004). Tonal Harmony (5th ed.). New York: McGraw-Hill. pp. 12. ISBN 0-07-285260-7.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

แม่แบบ:บันไดเสียง