ข้ามไปเนื้อหา

บอร์ไนต์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บอร์ไนต์
การจำแนก
ประเภทแร่ซัลไฟด์
สูตรเคมีCu5FeS4
คุณสมบัติ
มวลโมเลกุล342.681
สีสีบรอนซ์น้ำตาลปนแดงแกมม่วง
โครงสร้างผลึกแบบออร์โธรอมบิก
ความยืดหยุ่นเปราะ
ค่าความแข็ง3-3.25
สีผงละเอียดสีดำปนเทาซีดๆ
ความถ่วงจำเพาะ4.9 - 5.3
อ้างอิง: [1][2][3]

บอร์ไนต์ (อังกฤษ: bornite) (Cu5FeS4) เป็นแร่ในกลุ่มซัลไฟด์ของทองแดงและเหล็ก

ชื่อแร่

[แก้]

ได้จากชื่อนักวิชาแร่ชาวออสเตรียชื่อ Lgnatius Von Bon (ค.ศ. 1742-1791) โดยทั่วไปเรียก สินแร่สีนกยูง (peacock ore) [4]

คุณสมบัติทางฟิกสิกส์

[แก้]

คุณสมบัติทางเคมี

[แก้]

แหล่งที่พบ

[แก้]

ต่างประเทศ

[แก้]

สามารถพบได้ในประเทศคาซักสถาน เม็กซิโก เยอรมนี สวีเดน สหรัฐอเมริกา สเปนและอังกฤษ[5]

ในประเทศ

[แก้]

ไม่ค่อยพบมาก แต่สามารถพบได้ในแหล่งดีบุกแบบสัมผัสที่อำเภอบันนังสตาร์ จังหวัดยะลา ที่ จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดเลยพบเกิดอยู่กับแร่ทองแดงชนิดอะซูไรต์

ประโยชน์

[แก้]

เป็นสินแร่ทองแดง นำมาแยกและถลุงเอาโลหะทองแดงมาใช้ประโยชน์

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]