ข้ามไปเนื้อหา

นางงามจักรวาล 1990

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นางงามจักรวาล 1990
พิธีกรดิค คลาร์ค, ลีซา กิบบอนส์ และ มาร์กาเรต การ์ดิเนอร์
สถานที่จัดShubert Theatre, ลอสแอนเจลิส, แคลิฟอร์เนีย, สหรัฐอเมริกา
ถ่ายทอดทางซีบีเอส
เข้าร่วมประกวด71
ผ่านเข้ารอบ10
เข้าร่วมครั้งแรกสหภาพโซเวียต
ถอนตัวเบลเยียม, บราซิล, คูราเซา, เฮติ, ลักเซมเบิร์ก, นิวซีแลนด์, หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกา
กลับมาเข้าร่วมเชโกสโลวาเกีย
ผู้ชนะเลิศโมนา กรุดท์
ธงของประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์
นางงามมิตรภาพคริสเตียน สโตคเกอร์
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี
ชุดประจำชาติยอดเยี่ยมลิเซต มาเฮชา
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย
ขวัญใจช่างภาพภัสราภรณ์ ชัยมงคล
 ไทย
← 1989
1991 →

นางงามจักรวาล 1990 (อังกฤษ: Miss Universe 1990) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 39 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2533 ณ Shubert Theatre, ลอสแอนเจลิส, แคลิฟอร์เนีย, สหรัฐอเมริกา ในปีนี้มีผู้เข้าประกวด 71 คน จากทั่วโลก โดยมี แองเจลา วิสเซอร์ นางงามจักรวาล 1989 จาก เนเธอร์แลนด์ เป็นผู้มอบมงกุฏให้กับ โมนา กรุดท์ สาวงามวัย 19 ปี จากประเทศนอร์เวย์ เป็นผู้ครองตำแหน่งนางงามจักรวาลประจำปีนี้

ผลการประกวด

[แก้]

ลำดับที่

[แก้]
ผลการประกวด ผู้เข้าประกวด
นางงามจักรวาล 1990
รองอันดับ 1
รองอันดับ 2
6 คนสุดท้าย
10 คนสุดท้าย

คะแนนในรอบตัดสิน

[แก้]

รางวัลพิเศษ

[แก้]
รางวัล ผู้ชนะ
นางงามมิตรภาพ
ขวัญใจช่างภาพ
  •  ไทย – ภัสราภรณ์ ชัยมงคล
ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม

ลำดับการประกาศชื่อ

[แก้]

คณะกรรมการ

[แก้]

รายชื่อคณะกรรมการในวันตัดสิน ประกอบไปด้วย:

  • จีน มีโดวส์ – นักแสดง
  • มาร์ติน แรนโซฮอฟฟ์ – โปรดิวเซอร์
  • ซูซาน ฟอร์เวิร์ด – พิธีกร, นักจิตวิทยา
  • ชาเยนน์ – นักร้อง, นักแสดง
  • ลีโอโนรา แลงลีย์ – บรรณาธิการนิตยสารแอลล์สหรัฐอเมริกา
  • บรูคส์ ไฟร์สโตนส์ – นักธุรกิจ
  • เจ.ดี. นิโคลัส – นักร้อง, นักดนตรี
  • เดโบราห์ นาดูลแมน – คอสตูมดีไซเนอร์
  • เฮง เอส. งอร์ – นักแสดงชาวกัมพูชาเจ้าของรางวัลออสการ์
  • เจ้าหญิงมาเรีย เดอ เบอร์บอน – เชื้อพระวงศ์
  • โฮเวิร์ด คีล – นักร้อง, น้กแสดง
  • สตีฟ อัลเลน – นักแสดง, นักเขียน, นักแต่งเพลง

ผู้เข้าประกวด

[แก้]

รายละเอียดของการประกวด

[แก้]
  • ธงของประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ ได้รับตำแหน่งนางงามจักรวาลเป็นคนแรกของประเทศ (คนที่ 11 จากทวีปยุโรป)
  • ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี ชนะรางวัล นางงามมิตรภาพ เป็นครั้งที่ 2
  • ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย ชนะรางวัล ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม เป็นครั้งที่ 3
  •  ไทย ชนะรางวัล ขวัญใจช่างภาพ เป็นครั้งแรก

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]