ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อธงในประเทศญี่ปุ่น

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ธงในประเทศญี่ปุ่น)

น้านี้คือรายการภาพธงต่างๆ ในประเทศญี่ปุ่น ในอดีตและปัจจุบัน

ธงชาติ

[แก้]
ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ธง การใช้ คำอธิบาย
27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2413 – 12 สิงหาคม พ.ศ. 2542 ธงชาติ ธงราชการ และ ธงฉาน ธงชาติจักรวรรดิญี่ปุ่น ตามสัดส่วนในพระบรมราชโองการเลขที่ 57 ค.ศ. 1870 (Proclamation No. 57, 1870) สัดส่วนธง 7:10 พื้นสีขาว รูปวงกลมสีแดงในธงค่อนมาทางคันธง 1%
13 สิงหาคม พ.ศ. 2542 – ปัจจุบัน ธงชาติตามสัดส่วนในพระบรมราชโองการเลขที่ 127 ค.ศ. 1999 (Proclamation No. 127, 1999) สัดส่วนธง 2:3 พื้นสีขาว รูปวงกลมสีแดงในธงอยู่กลางธงพอดี

ธงพระอิสริยยศ

[แก้]
ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ธง การใช้ คำอธิบาย
สำนักพระราชวังหลวง (กระทรวงพระราชสำนัก)
ธงราชการในพระราชสำนัก ลักษณะอย่างธงชาติ กลางมีรูปดอกเบญจมาศสีทอง 32 กลีบ ซ้อนทับวงกลมสีแดง
ธงเรือพระราชสำนัก ลักษณะอย่างธงชาติ กลางมีรูปดอกเบญจมาศสีแดง 32 กลีบ
ธงประจำพระองค์สมเด็จพระจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น
ค.ศ. 1871 - 1889 ธงพระอิสริยยศ "สมเด็จพระจักรพรรดิ" (สำหรับเรือพระที่นั่ง) ธงพื้นสีแดง กลางมีรูปดอกเบญจมาศสีขาว 32 กลีบ
ค.ศ. 1870 - 1875 ธงพระอิสริยยศ "สมเด็จพระจักรพรรดิ"
ค.ศ. 187ุ6
ตั้งแต่ ค.ศ. 1926 ธงพื้นสีแดง กลางมีรูปดอกเบญจมาศสีทอง 32 กลีบ
ตั้งแต่ ค.ศ. 2019 ธงพระอิสริยยศ "สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ" (ไดโจเท็นโน) ธงพื้นสีน้ำตาลแดง กลางมีรูปดอกเบญจมาศสีทอง 32 กลีบ
ธงประจำพระองค์สมเด็จพระจักรพรรดินี และสมเด็จพระจักรพรรดินีพันปีหลวง
ค.ศ. 1873 - 1889 ธงพระอิสริยยศ "สมเด็จพระจักรพรรดินี" ธงพื้นสีม่วงชมพู กลางมีรูปดอกเบญจมาศสีทอง 32 กลีบ
ตั้งแต่ ค.ศ. 1926 ธงพื้นสีแดง ตอนปลายตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ลึก 1 ใน 3 ส่วนของความยาวของผืนธง กลางมีรูปดอกเบญจมาศสีทอง 32 กลีบ
ธงสำหรับองค์สมเด็จพระยุพราช
ตั้งแต่ ค.ศ. 1926 ธงพระอิสริยยศมกุฎราชกุมาร และ พระราชวงศ์ชั้นหลานหลวง
ธงพระอิสริยยศมกุฎราชกุมารี และพระชายาในพระราชวงศ์ชั้นหลานหลวง
ตั้งแต่ ค.ศ. 2020 ธงพระอิสริยยศมกุฎราชกุมาร ที่มิได้เป็นพระราชวงศ์ชั้นหลานหลวง
ธงประจำพระองค์ สำหรับราชตระกูลพระองค์อื่นๆ
ค.ศ. 1875 – 1889 ธงพระอิสริยยศ สำหรับราชตระกูลพระองค์อื่นๆ (สำหรับเรือพระที่นั่ง) ธงพื้นสีน้ำเงิน. กลางมีรูปดอกเบญจมาศสีขาว 32 กลีบ
ค.ศ. 1876 ธงพระอิสริยยศสำหรับราชตระกูลพระองค์อื่นๆ
ตั้งแต่ ค.ศ. 1926 ธงพื้นสีขาว กลางมีรูปดอกเบญจมาศสีทอง 32 กลีบ มีขอบสีแดง
ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
ตั้งแต่ ค.ศ. 1926 ธงผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (เซ็ชโชและคัมปากุ) ลักษณะคล้ายธงสมเด็จพระจักรพรรดิ แต่มีขอบสีขาว

ธงราชการ

[แก้]
ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ธง การใช้ คำอธิบาย
ธงเจ้าพนักงานนำร่อง ลักษณะอย่างธงชาติ มีขอบสีน้ำเงิน
กรมศุลกากรและพิกัดอัตราศุลกากร (กระทรวงการคลัง)
ค.ศ. 1871 - 1873 ธงเจ้าพนักงานศุลกากร ธงสี่เหลี่ยมจัตุรัสพื้นสีขาว กากบาทแนวทแยงมุมสีน้ำเงินซ้อนทับวงกลมสีแดง
ตั้งแต่ ค.ศ. 1892 ธงพื้นสีขาว หมายถึง แผ่นดิน สามเหลี่ยมสีน้ำเงิน หมายถึง ท้องทะเล พระอาทิตย์สีแดง หมายถึง การศุลกากร
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ไปรษณีย์ญี่ปุ่น
ค.ศ. 1872 - 1887 ธงเจ้าพนักงานไปรษณีย์ ลักษณะอย่างธงชาติ กลางธงมีแถบตามยาวสีแดงพาดผ่านพระอาทิตย์

ธงทหาร

[แก้]
ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ธง การใช้ คำอธิบาย
ธงกองทัพบก
พ.ศ. 2432–2488 ธงประจำกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น ธงพื้นสีขาว มีรูปพระอาทิตย์สีแดงรัศมี 16 แฉก อยู่ตรงกลางธง
ธงชัยเฉลิมพลหน่วยทหารราบ อัตราส่วน 2:3
ธงชัยเฉลิมพลหน่วยทหารม้า อัตราส่วน 1:1
พ.ศ. 2497 – ธงประจำกองกำลังป้องกันตนเองทางภาคพื้นดินของญี่ปุ่น ธงพื้นสีขาว มีรูปพระอาทิตย์สีแดงรัศมี 8 แฉก ที่ชายธงมีขอบสีทอง
ธงกองทัพเรือ
พ.ศ. 2432–2488 ธงจักรพรรดินาวีญี่ปุ่น ธงพื้นสีขาว มีรูปพระอาทิตย์ฉายรัศมี 16 แฉก วางเยื้องไปทางคันธง
พ.ศ. 2497 – ธงนาวีกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลของญี่ปุ่น
พ.ศ. 2499 – ธงผู้บังคับการเรือ ธงกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลของญี่ปุ่นอย่างย่อ ต่อชายยาวออกไปเป็นสีขาว
ธงกองทัพอากาศ
พ.ศ. 2498–2500 ธงประจำกองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศของญี่ปุ่น ธงของกองกำลังตนเองทางอากาศเริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2498 มีการเปลี่ยนแปลงแบบธงหลายครั้ง แบบที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้เป็นแบบที่ 4
พ.ศ. 2500–2515
พ.ศ. 2515–2544
พ.ศ. 2545–

ธงในตำแหน่งราชการ

[แก้]
ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ธง การใช้ คำอธิบาย
นายกรัฐมนตรีแห่งญี่ปุ่น
ตั้งแต่ ค.ศ. 1972 ธงประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ธงพื้นสีม่วง มีรูปดอกซากุระเรียงกันเป็นรูปห้าเหลี่ยม สัดส่วนธง 4:5
ธงนี้สำหรับใช้ในกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเล สัดส่วนธง 2:3
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
ตั้งแต่ ค.ศ. 1972 ธงประจำตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ธงพื้นสีแดง มีรูปดอกซากุระเรียงกันเป็นรูปห้าเหลี่ยม สัดส่วนธง 4:5
ธงนี้สำหรับใช้ในกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเล สัดส่วนธง 2:3
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม
ตั้งแต่ ค.ศ. 1972 ธงประจำตำแหน่ง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ธงพื้นสีแดง มีรูปดอกซากุระเรียงกันเป็นรูปสี่เหลี่ยม สัดส่วนธง 4:5
สำหรับใช้ในกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเล สัดส่วนธง 2:3
ธงประจำตำแหน่ง เสนาธิการกระทรวงกลาโหมญี่ปุ่น

กองกำลังป้องกันตนเองทางภาคพื้นดิน

[แก้]
ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ธง การใช้ คำอธิบาย
ธงเสนาธิการกองกำลังป้องกันตนเองทางภาคพื้นดิน
ธงธงผู้บัญชาการกองทัพภาค
ธงผู้บัญชาการกองพล
ธงหน่วยกำลังรบระดับกองพลน้อย
ธงผู้บัญชาการกองพลน้อย
ธงหน่วยทหารราบ กองกำลังป้องกันตนเองทางภาคพื้นดินของญี่ปุ่น

กองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศ

[แก้]
ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ธง การใช้ คำอธิบาย
ธงเสนาธิการกองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศ
ธงผู้บัญชาการหน่วยป้องกันภัยทางอากาศ
ธงผู้บังคับการหน่วยปฏิบัติการอวกาศ

กองกำลังป้องกันตนเองทางทะเล

[แก้]
ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ธง การใช้ คำอธิบาย
การฟื้นฟูเมจิ (ค.ศ. 1870 - 1889)
ค.ศ. 1870 - 1889 ธงหมายยศรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทหารเรือ ธงพื้นสีขาว กลางมีรูปดอกเบญจมาศสีแดง 32 กลีบซ้อนทับรูปสมอเรือไขว้สีดำ
เสนาธิการแห่งจักรพรรดินาวีญี่ปุ่น (เสนาธิการทหารเรือ) ลักษณะอย่างธงชาติ กลางธงมีรูปสมอเรือไขว้สีดำ ซ้อนทับวงกลมสีแดง
ธงหมายยศพลเรือเอก ลักษณะอย่างธงชาติ มีขอบสีแดง
ค.ศ. 1870 - 1871 ธงหมายยศพลเรือโท ลักษณะอย่างธงชาติ มีขอบสีน้ำเงิน
ค.ศ. 1871 - 1889
ค.ศ. 1870 - 1871 ธงหมายยศพลเรือตรี ลักษณะอย่างธงชาติ มีขอบสีเหลือง
ค.ศ. 1871 - 1889
ค.ศ. 1889 - 1945
ค.ศ. 1889 - 1945 ธงหมายยศรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทหารเรือ
ธงหมายยศพลเรือเอก
ค.ศ. 1889 - 1896 ธงหมายยศพลเรือโท
ค.ศ. 1896 - 1945
ค.ศ. 1889 - 1896 ธงหมายยศพลเรือตรี
ค.ศ. 1896 - 1945
ค.ศ. 1914 - 1945 ธงหมายยศพลเรือจัตวา
ธงหมายยศนาวาเอกพิเศษ (Senior captian)
ธงหมายยศนาวาโท
ค.ศ. 1905 - 1945 "ธงอักษร Z" ธงจักรพรรดินาวีอย่างไม่เป็นทางการ ดัดแปลงจากธงประมวลสากลอักษร "Z"
กองกำลังป้องกันตนเองทางทะเล
ตั้งแต่ ค.ศ. 1965 ธงเสนาธิการกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเล
ธงหมายยศพลเรือเอก
ธงหมายยศพลเรือโท
ธงหมายยศพลเรือตรี
ธงพลเรือจัตวา
ธงนาวาเอกพิเศษ (Senior captian)


ธงหมายยศนาวาโท
ตั้งแต่ ค.ศ. 1954 ธงผู้บังคับการเรือ ใช้สำหรับเรือรบที่มีผู้บังคับการเรือ ความยาวของธงนี้ขึ้นอยู่กับระยะเวลาการประจำการของเรือลำนั้นๆ

กองกำลังป้องกันชายฝั่ง

[แก้]
ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ธง การใช้ คำอธิบาย
ตั้งแต่ ค.ศ. 1954 ธงกองกำลังป้องกันชายฝั่งของญี่ปุ่น ธงรูปเข็มทิศของชาวเรือบนพื้นสีน้ำเงิน.
ธงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแผ่นดิน การสาธารณูปโภค การขนส่ง และ การท่องเที่ยว
ผู้บัญชาการกองกำลังป้องกันชายฝั่ง
ผู้บัญชาการกองกำลังป้องกันชายฝั่ง ประจำเขต
Flag of Commander

ธงในอดีต

[แก้]
ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ธง การใช้ คำอธิบาย
ในคตวรรษที่19 ธงชาติรัฐบาลเอโดะ ธงพื้นสีขาว มีแขวเสันสีดำ
พ.ศ. 2411–2412 ธงชาติสาธารณรัฐเอโซะ ธงพื้นสีน้ำเงิน มีรูปดาวเจ็ดแฉกสีแดง ซ้อนทับบนดอกเบญจมาศสีเหลืองอยู่ที่กลางธง
พ.ศ. 2448–2453 ธงประจำตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแห่งเกาหลี ธงพื้นสีน้ำเงิน มีธงชาติญี่ปุ่นที่มุมธงด้านคันธง
พ.ศ. 2488–2495 ธงเรือเอกชนและเรือรบญี่ปุ่น ระหว่างอยู่ในความยึดครองของสหรัฐอเมริกา ดัดแปลงจากธงประมวลสากลอักษร "E"
พ.ศ. 2493 (ม.ค.–มี.ค.) แบบธงสำหรับรัฐเอกราชโอกินาวะ แบบธงนี้เสนอโดย นายโคชิน ชิกิยะ ผู้ว่าการรัฐบาลพลเรือนโอกินาวะ แต่ฝ่ายคณะบริหารหมู่เกาะริวกิวของสหรัฐอเมริกาได้ปฏิเสธแบบธงนี้ใน 2 เดือนต่อมา สัญลักษณ์ในธงดังกล่าวมีความหมายดังนี้ สีน้ำเงินหมายถึงสันติภาพ สีขาวหมายถึงเสรีภาพ สีแดงหมายถึงความกระตือรือล้น รูปดาวหมายถึงความหวัง
พ.ศ. 2495–2510 ธงเรือเอกชน สำหรับใช้ในระหว่างที่สหรัฐอเมริกายึดครองหมู่เกาะริวกิวและโอกินาวะ ดัดแปลงจากธงประมวลสากลอักษร "D"

ธงประจำจังหวัด

[แก้]

จังหวัดของญี่ปุ่นทั้ง 47 จังหวัด จะมีธงประจำจังหวัดของตัวเอง ลักษณะโดยรวมของแต่ละธงจะคล้ายกับธงชาติ โดยจะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีเดี่ยว (monocolor) กลางมีตราสัญลักษณ์ ซึ่งเรียกในภาษาญี่ปุ่นว่า "มง" เป็นภาพตราที่ดัดแปลงจากสถานที่หรือสิ่งอื่นๆ ที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละจังหวัด หรือชื่อจังหวัดซึ่งเขียนด้วยอักษรคาตากานะ

ภาพธง ตราสัญลักษณ์ จังหวัด รหัสพื้นที่ คำอธิบาย
ไอจิ JP-23
อากิตะ JP-05
อาโอโมริ JP-02
ชิบะ JP-12
เอฮิเมะ JP-38
ฟูกูอิ JP-18
ฟูกูโอกะ JP-40
ฟูกูชิมะ JP-07
กิฟุ JP-21
กุมมะ JP-10
ฮิโรชิมะ JP-34
ฮกไกโด JP-01
เฮียวโงะ JP-28
อิบารากิ JP-08
อิชิกาวะ JP-17
อิวาเตะ JP-03
คางาวะ JP-37
คาโงชิมะ JP-46
คานางาวะ JP-14
โคจิ JP-39
คูมาโมโตะ JP-43
เกียวโต JP-26
มิเอะ JP-24
มิยางิ JP-04
มิยาซากิ JP-45
นางาโนะ JP-20
นางาซากิ JP-42
นาระ JP-29
นีงาตะ JP-15
โออิตะ JP-44
โอกายามะ JP-33
โอกินาวะ JP-47
โอซากะ JP-27
ซางะ JP-41
ไซตามะ JP-11
ชิงะ JP-25
ชิมาเนะ JP-32
ชิซูโอกะ JP-22
โทจิงิ JP-09
โทกูชิมะ JP-36
โตเกียว JP-13
ทตโตริ JP-31
โทยามะ JP-16
วากายามะ JP-30
ยามางาตะ JP-06
ยามางูจิ JP-35
ยามานาชิ JP-19