ทวิภาวะ (คณิตศาสตร์)
หน้าตา
บทความนี้หรือส่วนนี้ของบทความต้องการปรับรูปแบบ ซึ่งอาจหมายถึง ต้องการจัดรูปแบบข้อความ จัดหน้า แบ่งหัวข้อ จัดลิงก์ภายใน และ/หรือการจัดระเบียบอื่น ๆ คุณสามารถช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้โดยการกดที่ปุ่ม แก้ไข ด้านบน จากนั้นปรับปรุงหรือจัดรูปแบบอื่น ๆ ในบทความให้เหมาะสม |
ทวิภาวะ (Principle of Duality) คำว่า Duality หมายความว่า 'การอยู่กันเป็นคู่' หรือทางคณิตศาสตร์แปลว่า 'ทวิภาวะ'ใน Digital Logic ใช้แทนการเท่ากันของนิพจน์
การเท่ากันของนิพจน์ที่กลับนิพจน์โดยจะสลับเครื่องหมายและตัวเลข แต่ค่าเดิมจะไม่เปลี่ยนแปลงโดยที่
- สลับเครื่องหมายคูณ ( • ) กับเครื่องหมายบวก ( + )
- ลลับเลข 0 กับเลข 1
- ไม่สามารถเปลี่ยนค่า x เป็น x’
ตัวอย่าง
[แก้]x + 0 = x จะเท่ากับ x • 1 = x
x + 1 = 1 จะเท่ากับ x • 0 = 0
x + x = x จะเท่ากับ x • x = x
x + x’ = 1 จะเท่ากับ x • x’ = 0
และ (x') ' จะเท่ากับ x
หมายเหตุ
[แก้]- บางครั้งนิพจน์duality อาจจะไม่เท่ากับนิพจน์ตั้งต้น
- ถ้านิพจน์ตั้งต้นสมเหตุสมผล นิพจน์ที่เท่ากันจะสมเหตุสมผลด้วย
- ถ้านิพจน์ใดไม่ว่าจะเป็นนิพจน์ตั้งต้น หรือนิพจน์ที่เท่ากันใดๆเป็นจริง นิพจน์อื่นจะเป็นจริงด้วย