ตุ๊กต่ำ
หน้าตา
ตุ๊กต่ำ/ไบโอไทต์ | |
---|---|
ไบโอไทต์ที่การสะสมเป็นแผ่นบาง (Image width: 2.5 mm) | |
การจำแนก | |
ประเภท | Dark mica series |
สูตรเคมี | K(Mg,Fe) 3(AlSi 3O 10)(F,OH) 2 |
คุณสมบัติ | |
มวลโมเลกุล | 433.53 g |
สี | Dark brown, greenish-brown, blackish-brown, yellow, white |
รูปแบบผลึก | Massive to platy |
โครงสร้างผลึก | Monoclinic (2/m) Space Group: C 2/m |
การเกิดผลึกแฝด | Common on the [310], less common on the {001} |
แนวแตกเรียบ | Perfect on the {001} |
รอยแตก | Micaceous |
ความยืดหยุ่น | Brittle to flexible, elastic |
ค่าความแข็ง | 2.5–3.0 |
ความวาว | Vitreous to pearly |
ดรรชนีหักเห | nα = 1.565–1.625 nβ = 1.605–1.675 nγ = 1.605–1.675 |
คุณสมบัติทางแสง | Biaxial (-) |
ค่าแสงหักเหสองแนว | δ = 0.03–0.07 |
การกระจายแสง | r < v (Fe rich); r > v weak (Mg rich) |
การเปลี่ยนสี | Strong |
การเรืองแสงอัลตราไวโอเลต | ไม่มี |
สีผงละเอียด | ขาว |
ความถ่วงจำเพาะ | 2.7–3.1 |
ความหนาแน่น | 2.8–3.4 |
ความโปร่ง | Transparent to translucent to opaque |
อ้างอิง: [1][2][3] |
ตุ๊กต่ำ หรือ ไบโอไทต์ (Biotite) เป็นแร่ธาตุในกลุ่มไมกา มีสูตรเคมีเป็น K(Mg,Fe)
3AlSi
3O
10(F,OH)
2ผู้ตั้งชื่อว่าไบโอไทต์คือ J.F.L. Hausmann เมื่อ พ.ศ. 2390 ตามชื่อของนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส ฌ็อง-บาติสต์ บีโย ผู้ทำวิจัยเกี่ยวกับไมกาและพบลักษณะพิเศษหลายชนิดเมื่อ พ.ศ. 2359[4]
ภาษาไทยโบราณเรียกว่า "ตุ๊กต่ำ" มีหลายสี ถ้าสีเหลืองน้ำตาลเหลือบทองเรียกตุ๊กต่ำน้ำทอง สีเหลืองอ่อนวาวแบบมุกเหลือบสีเงินเรียกตุ๊กต่ำน้ำเงิน ถ้าสีน้ำตาลแก่เหลือบสีทองแดงเรียกตุ๊กต่ำน้ำนาก โบราณใช้ประสมในยาแก้ฝี[5]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Biotite mineral information and data Mindat
- ↑ Biotite Mineral Data Webmineral
- ↑ Handbook of Mineralogy
- ↑ Johann Friedrich Ludwig Hausmann (1828). Handbuch der Mineralogie. Vandenhoeck und Ruprecht. p. 674. "Zur Bezeichnung des sogenannten einachsigen Glimmers ist hier der Name Biotit gewählt worden, um daran zu erinnern, daß Biot es war, der zuerst auf die optische Verschiedenheit der Glimmerarten aufmerksam machte." (For the designation of so-called uniaxial mica, the name "biotite" has been chosen in order to recall that it was Biot who first called attention to the optical differences between types of mica.)
- ↑ ชยันต์ พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงศ์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทยเล่ม 4 เครื่องยาธาตุวัตถุ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2556, หน้า 94