ดนตรีโซล
หน้าตา
โซล | |
---|---|
แหล่งกำเนิดทางรูปแบบ | กอสเปล, บลูส์, อาร์แอนด์บี |
แหล่งกำเนิดทางวัฒนธรรม | ปลายทศวรรษที่ 1950 สหรัฐอเมริกา (โดยเฉพาะใน นิวยอร์ก, ชิคาโก อิลลินอยส์) |
เครื่องบรรเลงสามัญ | กีตาร์ - กีตาร์เบส - คีย์บอร์ด - กลอง - เครื่องเป่า - เสียงร้อง |
รูปแบบอนุพันธุ์ | ฟังก์ - ดิสโก้- อาร์แอนด์บีร่วมสมัย- ไคว์เอทสตรอม |
แนวย่อย | |
ดีพโซล - โมทาวน์ซาวด์ - ไซเคเดลิกโซล - บลู-อายด์โซล - บราวด์อายด์โซล | |
แนวประสาน | |
นีโอโซล - โซลบลูส์ - สโปเกนเวิร์ดโซล |
โซล (อังกฤษ: Soul music) เป็นแนวเพลงประเภทหนึ่งที่รวมกันระหว่างอาร์แอนด์บีและกอสเปล กำเนิดในประเทศสหรัฐอเมริกา[1] จากร็อกแอนด์โรลฮอลล์ออฟเฟม โซลมีความหมายว่า "ดนตรีที่เกิดขึ้นโดยคนผิวสี ในอเมริกา ที่เปลี่ยนรูปจากกอสเปลและอาร์แอนด์บี ในจังหวะที่สนุกสนาน โดยไม่มีเนื้อหาเกี่ยวกับทางศาสนา"[2]
การแสดงจะผ่านทางอารมณ์ และเมโลดี้มีการตกแต่งในลักษณะคีตปฏิภาณ นอกจากนี้ยังใช้ซาวด์แบบวนและเป็นเครื่องเสริม จังหวะที่ติดหู อาจมีการตบมือประกอบ การเคลื่อนไหวแบบพลาสติก[1] องค์ประกอบอีกอย่างของโซลที่เรียกว่า call and response ที่เป็นการร้องโต้ตอบกันระหว่าง นักร้อง กับคอรัส โดยเฉพาะเสียงที่ตึง [1]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 Valter Ojakäär (1983). Popmuusikast. Eesti Raamat.
- ↑ Otis Redding