ข้ามไปเนื้อหา

ซุคฮอย ซู-17

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ซู-17
ซู-17 ของกองบินลาดตระเวนทิ้งระเบิดที่ 7 แห่งกองทัพอากาศโปแลนด์
ข้อมูลทั่วไป
บทบาทเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิด
ชาติกำเนิด สหภาพโซเวียต
บริษัทผู้ผลิตซุคฮอย
สถานะประจำการอย่างจำกัด
ผู้ใช้งานหลักกองทัพอากาศลิเบีย
กองทัพอากาศรัสเซีย
กองทัพอากาศอียิปต์
กองทัพอากาศโปแลนด์
จำนวนที่ผลิต2,867 ลำ
ประวัติ
สร้างเมื่อพ.ศ. 2514-2533
เริ่มใช้งานพ.ศ. 2513
เที่ยวบินแรก2 สิงหาคม พ.ศ. 2509
พัฒนาจากซุคฮอย ซู-7
สายการผลิตดูที่นี่

ซุคฮอย ซู-17 (อังกฤษ: Sukhoi Su-17 Fitter) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าฟิตเตอร์) เป็นเครื่องบินโจมตีของสหภาพโซเวียตที่พัฒนามาจากเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิดซุคฮอย ซู-7 มันได้ทำหน้าที่อย่างยาวนานในโซเวียต รัสเซีย และถูกใช้อย่างกว้างขวางโดยฝั่งตะวันออกและตะวันออกกลาง

รายละเอียด ซุคฮอย ซู-17

[แก้]

ข้อมูลจำเพาะ[1]

  • ผู้สร้าง:(โรงงานสร้างอากาศยานแห่งสหภาพโซเวียต) ปัจจุบันคือบริษัทซุคฮอย
  • ประเภท:เจ๊ตขับไล่โจมตีทางยุทธวิธี ทุกกาลอากาศ ที่นั่งเดียว เปลี่ยนมุมลู่ปีกได้
  • เครื่องยนต์:เทอร์โบเจ๊ตไลยูก้า เอแอล-21 เอฟ-3 ให้แรงขับสถิต 7,800 กิโลกรัม และ 11,200 กิโลกรัม เมื่อสันดาปท้าย 1 เครื่อง
  • กางปีก:13.7 เมตร เมื่อกางเต็มที่ 9.9 เมตร
  • ยาว:17.37 เมตร
  • สูง: 4.7 เมตร
  • พื้นที่ปีก: 37.2-40.1 ตารางเมตร
  • น้ำหนักเปล่า: 10,000 กิโลกรัม
  • น้ำหนักวิ่งขึ้นสูงสุด: 19,000 กิโลกรัม
  • อัตราเร็วขั้นสูงสุด: 2.17 มัค ที่ระยะสูง 12,000 เมตร และ 1.06 มัค ที่ระดับน้ำทะเล
  • เพดานบินใช้งาน: 18,000 เมตร
  • อัตราไต่ขั้นสูง: 13,800 เมตร
  • อัตรเร็วลงสนาม: 265 กิโลเมตร
  • ระยะทางวิ่งขึ้นพ้น 15 เมตร: 835 เมตร เมื่อเครื่องบินหนัก 17,000 กิโลกรัม
  • ระยะร่อนลงจาก 15 เมตร: 600 เมตร
  • รัศมีทำการรบ: เมื่อบรรทุกอาวุธหนัก 2,000 กิโลกรัม
    • 630 กิโลเมตร เมื่อบินสูง-ต่ำ-สูง
    • 360 กิโลเมตร เมื่อบินต่ำ-ต่ำ-ต่ำ
  • อาวุธ:ปืน่ใหญ่อากาศ เอ็นอาร์-30 ขนาด 30 มม. พร้อมกระสุนกระบอกละ 70 นัด 2 กระบอก
    • กระเประจรวด ยูวี-16-57 หรือ ยูวี-32-57 บรรจุจรวด เอส-5 ขนาด 55 มม. 16 หรือ 32 นัด
    • อาวุธปล่อยอากาศสู่พื้น เอเอส-7 เคอร์รี่(KERRY) 2 นัด
    • ลูกระเบิด 250 กิโลกรัม หรือ 500 กิโลกรัม เป็นน้ำหนักรวม 3,500 กิโลกรัม
    • อาวุธปล่อยอากาศสู่อากาศ เอเอ-3 อะแนบ (Anab) หรือ เอเอ-6 อะคริด (Acrid)

อ้างอิง

[แก้]
  1. อภิวัตน์ โควินทรานนท์,อากาศยาน1979ฉบับเครื่องบิน,เอวิเอชั่น ออบเซิร์ฟเวอร์,กรุงเทพ,2522