ข้ามไปเนื้อหา

ซีหนิง

พิกัด: 36°37′21″N 101°46′49″E / 36.6224°N 101.7804°E / 36.6224; 101.7804
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นครซีหนิง

西宁市
ตามเข็มนาฬิกาจากบน: คฤหาสน์หม่า ปู้ฟาง, มัสยิดตัวปา, มัสยิดตงกวาน, วัดกูปุม (วัดถาเอ่อร์)
ที่ตั้งของซีหนิง (น้ำเงินเข้ม) ในมณฑลชิงไห่
ที่ตั้งของซีหนิง (น้ำเงินเข้ม) ในมณฑลชิงไห่
นครซีหนิงตั้งอยู่ในมณฑลชิงไห่
นครซีหนิง
นครซีหนิง
ที่ตั้งของเมืองในมณฑลชิงไห่
นครซีหนิงตั้งอยู่ในประเทศจีน
นครซีหนิง
นครซีหนิง
นครซีหนิง (ประเทศจีน)
พิกัด (รัฐบาลประชาชนชิงไห่): 36°37′21″N 101°46′49″E / 36.6224°N 101.7804°E / 36.6224; 101.7804
ประเทศจีน
มณฑลชิงไห่
ศูนย์กลางการปกครองเขตเฉิงจง
การปกครอง
 • ประเภทนครระดับจังหวัด
 • องค์กรสภาประชาชนนครซีหนิง
 • เลขาธิการพรรคChen Ruifeng
 • ประธานสภาประชาชนCao Jiansong
 • นายกเทศมนตรีKong Lingdong
 • ประธานสภาที่ปรึกษาการเมืองDuan Fada
พื้นที่
 • นครระดับจังหวัด7,596 ตร.กม. (2,933 ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง (2018)[1]2,892.7 ตร.กม. (1,116.9 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล2,892.7 ตร.กม. (1,116.9 ตร.ไมล์)
ความสูง2,275 เมตร (7,464 ฟุต)
ประชากร
 (สำมะโน ค.ศ. 2020)[2]
 • นครระดับจังหวัด2,467,965 คน
 • ความหนาแน่น320 คน/ตร.กม. (840 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง1,954,795 คน
 • ความหนาแน่นเขตเมือง680 คน/ตร.กม. (1,800 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล1,954,795 คน
 • ความหนาแน่นรวมปริมณฑล680 คน/ตร.กม. (1,800 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+8 (เวลามาตรฐานจีน)
รหัสไปรษณีย์810000
รหัสพื้นที่971
รหัส ISO 3166CN-QH-01
ตัวหน้าป้ายทะเบียน青A
เว็บไซต์www.xining.gov.cn (ในภาษาจีน)
ซีหนิง
"ซีหนิง" ในอักษรจีนตัวเต็ม (บน) และอักษรจีนตัวย่อ (ล่าง)
ชื่อภาษาจีน
อักษรจีนตัวย่อ西宁
อักษรจีนตัวเต็ม西寧
ไปรษณีย์Sining หรือ Ziling
ความหมายตามตัวอักษร"ตะวันตกสันติสุข"
ชื่อภาษาทิเบต
อักษรทิเบต ཟི་ལིང
ชื่อภาษามองโกเลีย
อักษรซิริลลิกมองโกเลียСэлэнг
อักษรมองโกเลีย ᠰᠢᠨᠢᠩ

ซีหนิง (จีนตัวย่อ: 西宁; จีนตัวเต็ม: 西寧; พินอิน: Xīníng; ทิเบต: ཟི་ལིང་། Ziling) เป็นเมืองหลวงของมณฑลชิงไห่ในทางตะวันตกของประเทศจีน[3] และเมืองที่ใหญ่ที่สุดบนที่ราบสูงทิเบต จากการสำรวจสำมะโนประชากในรปี 2020 ซีหนิงมีประชากร 2,467,965 คน โดยอาศัยอยู่ในตัวเมือง 1,954,795 คน ซึ่งประกอบด้วย 5 เขต[4]

เมืองนี้เป็นศูนย์กลางการค้าตามเส้นทางสายไหมเหนือทางเหอชีมานานกว่า 2,000 ปีและเป็นที่มั่นของราชวงศ์ฮั่น สุย ถัง และซ่ง เพื่อต่อต้านการโจมตีของชนเผ่าเร่ร่อนจากตะวันตก แม้ว่าจะเป็นส่วนหนึ่งของมณฑลกานซู่มานาน แต่ซีหนิงก็ได้เพิ่มลงในมณฑลชิงไห่ในปี ค.ศ. 1928 (พ.ศ. 2471) ซีหนิงถือเป็นสถานที่สำคัญทางศาสนาสำหรับชาวมุสลิมและชาวพุทธเนื่องจากมีมัสยิดตงกวนและวัดถาเอ่อร์ เมืองนี้ตั้งอยู่ในหุบเขาแม่น้ำหวงฉุ่ยและเนื่องจากความสูงทำให้มีภูมิอากาศแบบกึ่งแห้งแล้งที่เย็นสบาย มีการเชื่อมต่อโดยรถไฟไปยังลาซา ทิเบต และเชื่อมต่อด้วยรถไฟความเร็วสูงไปยังหลานโจวและอุรุมชี

ภูมิอากาศ

[แก้]
ข้อมูลภูมิอากาศของซีหนิง (ค.ศ. 1981–2010)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 13.9
(57)
20.8
(69.4)
26.2
(79.2)
31.8
(89.2)
30.7
(87.3)
31.9
(89.4)
36.5
(97.7)
34.0
(93.2)
29.9
(85.8)
25.2
(77.4)
19.3
(66.7)
13.3
(55.9)
36.5
(97.7)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 2.0
(35.6)
5.2
(41.4)
10.1
(50.2)
16.0
(60.8)
19.9
(67.8)
22.7
(72.9)
24.8
(76.6)
24.1
(75.4)
19.3
(66.7)
14.1
(57.4)
8.4
(47.1)
3.2
(37.8)
14.15
(57.47)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) −7.3
(18.9)
−3.5
(25.7)
2.0
(35.6)
8.1
(46.6)
12.4
(54.3)
15.4
(59.7)
17.4
(63.3)
16.5
(61.7)
12.3
(54.1)
6.4
(43.5)
−0.3
(31.5)
−5.9
(21.4)
6.13
(43.03)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) −13.8
(7.2)
-10.0
(14)
-4.0
(24.8)
1.6
(34.9)
6.1
(43)
9.4
(48.9)
11.6
(52.9)
11.0
(51.8)
7.5
(45.5)
1.3
(34.3)
-6.0
(21.2)
−11.9
(10.6)
0.23
(32.42)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) −24.9
(-12.8)
−20.7
(-5.3)
−16.9
(1.6)
−12.5
(9.5)
−2.3
(27.9)
0.2
(32.4)
4.2
(39.6)
3.7
(38.7)
−1.1
(30)
−12.5
(9.5)
-19.0
(-2.2)
−26.6
(-15.9)
−26.6
(−15.9)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 1.8
(0.071)
2.1
(0.083)
8.5
(0.335)
21.2
(0.835)
51.4
(2.024)
62.9
(2.476)
82.3
(3.24)
80.8
(3.181)
61.4
(2.417)
21.1
(0.831)
3.6
(0.142)
1.6
(0.063)
398.7
(15.697)
ความชื้นร้อยละ 47 44 46 48 54 61 66 67 70 65 55 50 56.1
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย (≥ 0.1 mm) 2.7 3.4 5.2 6.5 10.7 14.6 15.0 13.8 13.1 7.3 2.4 2.2 96.9
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 209.8 204.9 222.5 241.0 253.9 236.5 243.8 244.4 196.9 208.1 212.7 201.2 2,675.7
แหล่งที่มา: China Meteorological Administration (precipitation days and sunshine 1971-2000)[5][6]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Cox, W (2018). Demographia World Urban Areas. 14th Annual Edition (PDF). St. Louis: Demographia. p. 22.
  2. https://www.citypopulation.de/en/china/qinghai/admin/
  3. "Illuminating China's Provinces, Municipalities and Autonomous Regions". PRC Central Government Official Website. สืบค้นเมื่อ 2014-05-17.
  4. "China: Qīnghăi (Prefectures, Cities, Districts and Counties) - Population Statistics, Charts and Map".
  5. 中国气象数据网 - WeatherBk Data (ภาษาChinese (China)). China Meteorological Administration. สืบค้นเมื่อ 2020-04-15.
  6. 中国地面国际交换站气候标准值月值数据集(1971-2000年). China Meteorological Administration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-21. สืบค้นเมื่อ 2010-05-25.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]