ซีนอนเตตรอกไซด์
| |||
ชื่อ | |||
---|---|---|---|
IUPAC names
Xenon tetraoxide
Xenon(VIII) oxide | |||
ชื่ออื่น
Xenon tetroxide
Perxenic anhydride | |||
เลขทะเบียน | |||
3D model (JSmol)
|
|||
เคมสไปเดอร์ | |||
CompTox Dashboard (EPA)
|
|||
| |||
| |||
คุณสมบัติ | |||
XeO4 | |||
มวลโมเลกุล | 195.29 g mol−1 | ||
ลักษณะทางกายภาพ | ของแข็งสีเหลืองที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า −36°C | ||
ความหนาแน่น | ? | ||
จุดหลอมเหลว | −35.9 องศาเซลเซียส (−32.6 องศาฟาเรนไฮต์; 237.2 เคลวิน) | ||
จุดเดือด | 0 องศาเซลเซียส (32 องศาฟาเรนไฮต์; 273 เคลวิน) [1] | ||
ทำปฏิกิริยา | |||
โครงสร้าง | |||
Tetrahedral[2] | |||
0 D | |||
อุณหเคมี | |||
Std molar
entropy (S⦵298) |
? J.K−1.mol−1 | ||
Std enthalpy of
formation (ΔfH⦵298) |
+153.5 kcal mol−1 [3] | ||
ความอันตราย | |||
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH): | |||
อันตรายหลัก
|
ระเบิดรุนแรง | ||
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |||
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
|
กรดเปอร์ซีนิก ซีนอนไตรออกไซด์ | ||
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
ซีนอนเตตรอกไซด์ เป็นสารประกอบทางเคมีของซีนอนและออกซิเจนท มีสูตรโมเลกุลเป็น XeO4 ซึ่งเป็นสารประกอบที่เสถียรของแก๊สมีสกุล เป็นผลึกของแข็งสีเหลืองที่มีความเสถียรต่ำกว่า −35.9 °C; เหนือจากอุณหภูมินั้นมันมีแนวโน้มที่จะระเบิดและสลายตัวเป็นธาตุซีนอนและออกซิเจน (O2)[4][5]
อิเล็กตรอนวาเลนซ์ทั้งแปดของซีนอนทำพันธะกับออกซิเจน และสถานะออกซิเดชันของอะตอมซีนอนคือ +8 ออกซิเจนเป็นองค์ประกอบเดียวที่สามารถทำให้ซีนอนมีค่าสถานะออกซิเดชันสูงที่สุดได้ แม้แต่ฟลูออรีนสามารถให้เพียงแค่ +6 (XeF6) สารประกอบซีนอนอายุสั้นอีกสองตัวที่มีสถานะออกซิเดชั่นเป็น +8, XeO3F2 และ XeO2F4 สามารถเข้าถึงได้โดยการทำปฏิกิริยาของซีนอนเตตรอกไซด์กับซีนอนเฮกซะฟลูออไรด์ ซึ่งสามารถตรวจสอบได้โดยแมสสเปกโตรเมทรี
การทำปฏิกิริยา
[แก้]ที่อุณหภูมิเหนือ −35.9 °C, ซีนอนเตตรอกไซด์มีแนวโน้มที่จะระเบิดและสลายตัวเป็นแก๊สซีนอนและออกซิเจนด้วย ΔH = −643 kJ/mol:
- XeO4 → Xe + 2 O2
ซีนอนเตตรอกไซด์สามารถละลายในน้ำได้เป็นกรดเพอร์เซเนตและโลหะอัลคาไลเป็นเกลือเพอร์เซเนต
- XeO4 + 2 H2O → H4XeO6
- XeO4 + 4 NaOH → Na4XeO6 + 2 H2O
ซีนอนเตตรอกไซด์ยังสามารถทำปฏิกิริยากับซีนอนเฮกซะฟลูออไรด์ได้ซีนอนออกซิฟลูออไรด์
- XeO4 + XeF6 → XeOF4 + XeO3F2
- XeO4 + 2XeF6 → XeO2F4 + 2 XeOF4
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Lide, David R. (1998). Handbook of Chemistry and Physics (87 ed.). Boca Raton, Florida: CRC Press. p. 494. ISBN 0-8493-0594-2.
- ↑ G. Gundersen; K. Hedberg; J. L.Huston (1970). "Molecular Structure of Xenon Tetroxide, XeO4". J. Chem. Phys. 52 (2): 812–815. Bibcode:1970JChPh..52..812G. doi:10.1063/1.1673060.
- ↑ Gunn, S. R. (May 1965). "The Heat of Formation of Xenon Tetroxide". Journal of the American Chemical Society. 87 (10): 2290–2291. doi:10.1021/ja01088a038.
- ↑
H.Selig, J. G. Malm, H. H. Claassen, C. L. Chernick, J. L. Huston (1964). "Xenon tetroxide – Preparation & Some Properties". Science. 143 (3612): 1322–3. Bibcode:1964Sci...143.1322S. doi:10.1126/science.143.3612.1322. JSTOR 1713238. PMID 17799234. S2CID 29205117.
{{cite journal}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) - ↑ J. L. Huston; M. H. Studier; E. N. Sloth (1964). "Xenon tetroxide — Mass Spectrum". Science. 143 (3611): 1162–3. Bibcode:1964Sci...143.1161H. doi:10.1126/science.143.3611.1161-a. JSTOR 1712675. PMID 17833897. S2CID 28547895.