ข้ามไปเนื้อหา

ซิงเกิลตัน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ในวิชาคณิตศาสตร์ ซิงเกิลตัน หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ ยูนิตเซต[1] เป็นเซตที่มีสมาชิกเพียงหนึ่งตัว ตัวอย่างเช่น {0} เป็นเซตโทน

ชื่อนี้ยังใช้ในสำหรับหนึ่งหลายสิ่งอันดับ (ลำดับที่มีสมาชิกเพียหนึ่งเดียว)

สมบัติ

[แก้]

ตามทฤษฎีเซตของเซอร์เมโล-แฟรนเคลนั้น สัจพจน์ความสม่ำเสมอนั้นเป็นตัวพิสูจน์ว่าไม่มีเซตไหนที่จะบรรจุสมาชิกตัวเองลงไป ซึ่งช่วยอธิบายว่าเซตโทนนั้นแตกต่างจากสมาชิกในเซตของตัวเองมาก[1] ดังนั้น 1 และ {1} ไม่เหมือนกัน และเซตว่างก็แตกต่างจากเซตที่มีสมาชิกเป็นเซตว่าง เช่นเดียวกับ {{1, 2, 3,}} เป็นเซตโทนที่มีสมาชิกเพียงหนึ่งเดียว (ซึ่งตัวมันเองเป็นเซต ไม่ใช่เซตโทน)

ภาวะเชิงการนับของเซตที่เป็นเซตโทนของ "ก็ต่อเมื่อ" คือ 1 ตามทฤษฎีโครงสร้างเซตตามธรรมชาติของบอนนิวมันน์ เลข 1 ได้กำหนดให้เป็นเซตโทนคือ {0}

สัจพจน์ของทฤษฎีเซต : การมีอยู่ของเซตโทนเป็นลำดับของสัจพจน์การจับคู่ : สำหรับเซต A ใด ๆ สัจพจน์นี้จะใช้กับ A และ A โดยจะอ้างถึง {A, A} ซึ่งมีความหมายเดียวกับเซตโทน {A} (เพราะมีแต่สมาชิก A ไม่มีเซตอื่นเป็นสมาชิก)

ถ้า A เป็นเซตใด ๆ และ S เป็นเซตโทนใด ๆ แล้วจะมีฟังก์ชันจาก A ถึง S ที่ส่งสมาชิกทุก ๆ สมาชิกของ A ไปยังสมาชิกหนึ่งของ S ดังนั้น ทุก ๆ เซตโทน จะมีวัตถุสุดท้าย (Terminal Object) ในลำดับของเซต

เซตโทนมีสมบัติที่ว่าทุก ๆ ฟังก์ชันที่มาจากตัวมันเองสู่เซตใด ๆ จะเป็นแบบหนึ่งต่อหนึ่ง เซตที่ไม่ใช่เซตโทนที่มีคุณสมบัติเดียวกันข้างต้นคือเซตว่าง

ด้านทฤษฎีจัดลำดับ

[แก้]

คำจำกัดความโดยฟังก์ชันบ่งชี้

[แก้]

ให้ เป็นชั้นที่จำกัดความโดยฟังก์ชันบ่งชี้

แล้ว จะเป็นเซตโทนก็ต่อเมื่อมี y บางตัวที่ yX แล้วสำหรับ x ใด ๆ xX,

คำจำกัดความจากหนังสือ Principia Mathematica

[แก้]

คำจำกัดความดังต่อไปนี้ถูกเขียนขึ้นโดยไวท์เฮดและรัสเซลล์[2]

...
Df.

โดยสัญลักษณ์ แสดงถึงเซตโทน และ แสดงถึงเอกลักษณ์ชั้นของวัตถุ (Class of Objects Identcal) กับ หรือที่รู้จักกันในรูป . ซึ่งทำขึ้นมาจำกัดความ ซึ่งเป็นรูปบบที่ง่ายกว่าข้อความข้างต้น ที่ใช้ประพจน์ ซึ่งต่อมาได้มาจำกัดความภาวะเชิงการนับของเลข 1 คือ

...

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 Stoll, Robert (1961). Sets, Logic and Axiomatic Theories. W. H. Freeman and Company. pp. 5–6.
  2. Whitehead, Alfred North; Bertrand Russell (1910). Principia Mathematica. Vol. Vol. I. p. 37. {{cite book}}: |volume= has extra text (help)