ข้ามไปเนื้อหา

ชาวบรูไนเชื้อสายมลายู

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ชาวบรูไนเชื้อสายมลายู
เจ้าสาวชาวบรูไนเชื้อสายมลายูในพิธีก่อนแต่งงาน มาลัมเบอเบอดัก ประเพณีนี้เป็นเอกลักษณ์ในอำเภอบรูไน-มัวรา
ประชากรทั้งหมด
ป. 330,000 คน[1] (ประมาณ ค.ศ. 1999)
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
 บรูไน

 มาเลเซีย
รัฐซาราวัก (ลาวัซกับลิมบัง)
รัฐซาบะฮ์ (ซีปีตัง, บิวฟอร์ด, กัวลาเปอญู, ปาปาร์, โกตากีนาบาลู)
ลาบวน
ภาษา
ภาษามลายูบรูไน, มาเลเซีย และอังกฤษ
ศาสนา
ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลามนิกายซุนนี สำนักชาฟิอี
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
เกอดายัน, ลุนบาวัง/ลุนดาเยฮ์, กลุ่มมลายูอื่น ๆ

ชาวบรูไนเชื้อสายมลายู (มลายู: Orang Melayu Brunei, اورڠ ملايو بروني) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์มลายูท้องถิ่นที่อาศัยอยู่ในประเทศบรูไน, ดินแดนสหพันธ์ลาบวน ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐซาบะฮ์ และรัฐซาราวักตอนบน[2][3]

ศัพทมูลวิทยา

[แก้]
ฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว เป็นพื้นที่ที่มีชาวบรูไนเชื้อสายมลายูในประเทศบรูไนกับมาเลเซียตะวันออกจำนวนมาก

จากสถิติทางการ คำว่า"ชาวบรูไนเชื้อสายมลายู"เพิ่งถูกใช้อย่างเป็นทางการหลังการจัดหมวดหมู่ชาติพันธุ์สัมมะโนบรูไนประจำปี 1921 ซึ่งมีความแตกต่างจากสำมะโนปี 1906 กับ 1911 ที่พวกเขาบันทึกว่าเป็น "บารูนายส์" (Barunays; ชาวบรูไน) โดยอาจจะบ่งบอกถึงการเปลี่ยนแปลงในการรับรู้ตนเองของชาวบรูไนเกี่ยวกับอัตลักษณ์มลายูของตน[4]

บันทึกแรกสุดที่ชาวตะวันตกพูดถึงบรูไนมาจากเอกสารที่บันทึกใน ค.ศ. 1550 โดยชาวอิตาลีนามว่า Ludovico di Varthema ที่กล่าวว่า "ชาวบรูไนมีสีผิวขาวกว่าผู้คนที่เขาพบบนหมู่เกาะโมลุกกะ"[5]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Adrian Clynes. "Occasional Papers in Language Studies, Department of English Language and Applied Linguistics, Universiti Brunei Darussalam, Volume 7 (2001), pp. 11-43. (Brunei Malay: An Overview1)" (PDF). Universiti Brunei Darussalam. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 16 ตุลาคม 2013. สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2013.
  2. "The Malay of Malaysia". Bethany World Prayer Center. 1997. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 ตุลาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 23 สิงหาคม 2013.
  3. "The Diaspora Malay". Bethany World Prayer Center. 1997. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 July 2012. สืบค้นเมื่อ 23 August 2013.
  4. B. A. Hussainmiya (2010). "The Malay Identity in Brunei Darussalam and Sri Lanka" (PDF). Universiti Brunei Darussalam. pp. 67, 68 and 69/3, 4 and 5. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 29 ตุลาคม 2014. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2014.
  5. Bilcher Bala (2005). Thalassocracy: a history of the medieval Sultanate of Brunei Darussalam. School of Social Sciences, Universiti Malaysia Sabah. ISBN 978-983-2643-74-6.

หนังสือ

[แก้]
  1. มลายู: Laporan banchi pendudok Brunei, 1971 (มลายู: Bahagian Ekonomi dan Perangkaan, Jabatan Setia Usaha Kerajaan), 1971.
  2. Mohd. Nor bin Long; มลายู: Perkembangan pelajaran di Sabah (มลายู: Dewan Bahasa dan Pustaka, Kementerian Pelajaran Malaysia), 1978.
  3. Sabihah Osman, Muhamad Hadi Abdullah, Sabullah Hj. Hakip; มลายู: Sejarah Brunei menjelang kemerdekaan (มลายู: Dewan Bahasa dan Pustaka, Kementerian Pendidikan Malaysia), 1955.