ฉบับร่าง:เฟมทวิต
นี่คือบทความฉบับร่างซึ่งเปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถแก้ไขได้ โปรดตรวจสอบว่าเนื้อหามีลักษณะเป็นสารานุกรมและมีความโดดเด่นควรแก่การรู้จักก่อนที่จะเผยแพร่เป็นบทความลงในวิกิพีเดีย กรุณาอดทนรอผู้เขียนคนอื่นมาช่วยตรวจให้ อย่าย้ายหน้าไปเป็นบทความเองโดยพลการ ค้นหาข้อมูล: Google (books · news · newspapers · scholar · free images · WP refs) · FENS · JSTOR · NYT · TWL สำคัญ: ถ้าลบป้ายนี้ออกจะทำให้บันทึกหน้าไม่ได้ ผู้แก้ไขหน้านี้คนล่าสุด คือ Peachyo (พูดคุย | เรื่องที่เขียน) เมื่อ 3 เดือนก่อน (ล้างแคช)
ฉบับร่างนี้ถูกส่งสำหรับการทบทวนแล้วและกำลังรอการทบทวน |
เฟมทวิต เป็นคำสแลงและเป็นคำเสียดสีทางการเมือง โดยคำว่าเฟมทวิตนั้น มาจากคำว่า เฟมินิสต์ + คำว่า ทวิตเตอร์ [1] หมายถึง กลุ่มคนที่มีแนวคิดแบบคตินิยมสิทธิสตรี และมักมีและคิดพยายามเปลี่ยนแปลงสังคม เช่น วัฒนธรรม ศาสนา และ การเมือง ที่มักจะมีการให้เพศชายเป็นใหญ่ หรือที่เพศชายได้เปรียบมากกว่าเพศหญิง[2]และเฟมทวิตมักจะมีแนวคิดทางการเมืองแบบประชานิยม และ เสรีนิยม ในประเทศไทย แต่ในบางครั้งก็มักจะมีแนวคิดสุดโต่งและตื่นรู้มากเกินไป จึงทำให้เฟมทวิตนั้นเป็นประเด็นทางสังคมในประเทศไทยบ่อยครั้ง เช่น การมองการพิมพ์คำว่า หอม หรือ คือลือ นั้น เป็นการคุกคามทางเพศ[3]
ประเด็นทางสังคม
[แก้]โบ๊ะบ๊ะขยะสังคม
[แก้]ในช่วง ตุลาคม ปี พ.ศ. 2563 ในทวิตเตอร์ได้มีกระแสทางสังคม เรื่องการใช้ คำว่า หอม ว่าเป็ยการคุกคามทางเพศหรือไม่ และนำไปสู่ ไปสู่ #โบ๊ะบ๊ะขยะสังคม ซึ่งเป็นกระแสในทวิตเตอร์ขณะนั้น ซึ่งการใช่คำว่า หอม นั้น ถูกมองจากหลายมุม บางฝ่ายนั้นมองว่าเป็นการคุกคามทางเพศ บางฝ่ายมองว่าเป็นคำทั่วไปซึ่งมีความหมายตรงตัวอยู่แล้ว และบางฝ่ายมองที่เจตนาในการใช้คำ และนอกจากนี้ ยังมี #เฟมทวิตขยะสังคม ที่เป็นกระแสในทวิตเตอร์ขณะนั้น จากฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยกับความคิดของเหล่าเฟมทวิตอีกด้วย [4]
ไม่ใช่ปลาแต่คือเหี้ย
[แก้]ในช่วงปลายปี 2563 ได้มีเน็ตไอดอลสาวคนหนึ่งออกมาแฉว่าถูกเจ้าของสังกัดสตรีมเมอร์ชื่อดัง อย่าง Hashtag E-Sport คุกคามทางเพศ และสาวคนนั้นพยายามเป็นกระบอกเสียงให้กับผู้หญิง จึงทำให้ #ไม่ใช่ปลาแต่คือเหี้ย เป็นกระแสในทวิตเตอร์ขณะนั้น ซึ่งสุดท้ายแล้วทางเน็ตไอดอลสาวคนดังกล่าวได้บอกว่าข้อมูลที่เผยแพร่ไปนั้นไม่เป็นความจริง ซึ่งเป็นการให้แหล่งข้อมูลเท็จ ซึ่งถึงอย่างนั้นแล้วเจ้าของสังกัดสตรีมเมอร์ที่ถูกกล่าวอ้างนั้นได้รับความเสียหายเป็นอย่างมาก ซึ่งอาจจะเรียกได้ว่าเป็นเหยื่อของเฟมทวิตก็ว่าได้ [5]
และในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2565 ทาง Hashtag E-Sport สตรีมเมอร์ชื่อดัง ได้ทำการที่จะช่วยเหลือเหยื่อจากเฟมทวิตคนอื่นๆ ให้ไม่ต้องได้รับผลกระทบเหมือนกับที่พวกเขาเคยเผชิญ จึงได้มีการตั้งแผนในการช่วยเหลือเหยื่อจากเหล่าเฟมทวิตขึ้นมา โดยบุคคลใดที่ถูก ข่มเหงรังแก โจมตี ประจาน หรือไม่ได้รับความเป็นธรรมจากเฟมทวิต ให้สามารถติดต่อและรวบรวมหลักฐานให้กับทางเพจ Hashtag E-Sport ซึ่งทางแฟนเพจดังกล่าวจะช่วยประสานกับทีมนักกฎหมายเพื่อให้คำปรึกษาทางกฎหมาย และหากพบว่าเข้าข่ายการข่มเหงรังแกจริง ทางเพจจะให้ยืมทีมนักกฎหมายไปต่อสู้[6]
ดูเพิ่มเติม
[แก้]แหล่งอ้างอิง
[แก้]โปรดรอสักครู่
หน้านี้อาจใช้ระยะเวลานานถึงหนึ่งสัปดาห์ เนื่องจากฉบับร่างจะได้รับการทบทวนตามลำดับ ขณะนี้มี 113 หน้าที่กำลังรอการทบทวน
ขอความช่วยเหลือ
วิธีปรับปรุงบทความของคุณ
คุณยังสามารถดู วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร และ วิกิพีเดีย:บทความคุณภาพ เพื่อค้นหาตัวอย่างบทความที่ดีที่สุดของวิกิพีเดียในหัวข้อที่คล้ายกับบทความที่คุณแจ้งทบทวน ทรัพยากรการแก้ไข
|