ข้ามไปเนื้อหา

ฉบับร่าง:สมรภูมิบางเขน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สมรภูมิบางเขน
ส่วนหนึ่งของ กบฏบวรเดช

ขบวนรถไฟขนอาวุธหนักฝ่ายรัฐบาลเดินทางไปยังแนวหน้าที่บางเขน
สถานที่
ผล ฝ่ายรัฐบาลสามารถยึดสถานีบางเขนได้
คู่สงคราม
รัฐบาลคณะราษฎร คณะกู้บ้านเมือง
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
หน่วยที่เกี่ยวข้อง
  • กองพันทหารราบที่ 6
  • กองพันทหารราบที่ 7
  • กองพันทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานที่ 1
  • กองพันทหารช่างที่ 1
  • กองพันทหารช่างที่ 2
  • กองพันทหารม้าที่ 4
  • สมรภูมิบางเขน หลังจากที่เริ่มยิงกันที่ปากช่อง กองกำลังส่วนล่วงหน้าของฝ่ายหัวเมือง ประกอบไปด้วย

    ทหารช่างอยุธยา 2 กองพัน ได้เข้ายึดสนามบินดอนเมือง ไว้เป็นกองบัญชาการ หลังจากนั้น ได้เคลื่อนตัวเข้ายึด สถานีรถไฟดอนเมือง และ เคลื่อนกำลังต่อไปยึดสถานีรถไฟหลักสี่ และทหารม้าสระบุรีเข้าสมทบ หลังจากรัฐบาลทราบเรื่อง รัฐบาลได้ตั้งกองบัญชาการที่สถานีรถไฟบางซื่อ จากนั้นฝ่ายรัฐบาลได้เริ่มยิงปืนใหญ่ใส่ฝ่ายทหารหัวเมือง ทำให้ฝ่ายหัวเมืองเริ่มเขายึดสถานีรถไฟบางเขน เมื่อรบไปได้ 2-3 วัน ฝ่ายหัวเมืองที่มีกำลังอาวุธ เสบียง ด้อยกว่า และ ขาดการส่งกำลังบำรุง จึงทำให้พ่ายแพ้ไป และ รัฐบาลได้เข้ายึดสถานีรถไฟบางเขนเอาไว้ได้[1][2]

    1. Silpawattanatham - ศิลปวัฒนธรรม (2019-10-11), เจาะลึกกบฏบวรเดช ถึงสมรภูมิระทึกที่บางเขนตัดสินชะตาบ้านเมือง, สืบค้นเมื่อ 2025-01-28
    2. กองบรรณาธิการศิลปวัฒนธรรม (2024-10-11). "สู่สมรภูมิบางเขน ในเหตุการณ์กบฏบวรเดช พ.ศ. 2476".