ฉบับร่าง:คณะสังคมศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
นี่คือบทความฉบับร่างซึ่งเปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถแก้ไขได้ โปรดตรวจสอบว่าเนื้อหามีลักษณะเป็นสารานุกรมและมีความโดดเด่นควรแก่การรู้จักก่อนที่จะเผยแพร่เป็นบทความลงในวิกิพีเดีย กรุณาอดทนรอผู้เขียนคนอื่นมาช่วยตรวจให้ อย่าย้ายหน้าไปเป็นบทความเองโดยพลการ ค้นหาข้อมูล: Google (books · news · newspapers · scholar · free images · WP refs) · FENS · JSTOR · NYT · TWL สำคัญ: ถ้าลบป้ายนี้ออกจะทำให้บันทึกหน้าไม่ได้ ผู้แก้ไขหน้านี้คนล่าสุด คือ Ginphuaktidfun (พูดคุย | เรื่องที่เขียน) เมื่อ 3 เดือนก่อน (ล้างแคช) |
คณะสังคมศาสตร์ เป็นคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร.) ที่เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ในการกำกับดูแลของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จัดการศึกษาในศาสตร์ทางสังคมศาสตร์ บูรณาการกับศาสตร์วิชาพระพุทธศาสนา และศาสตร์การเรียนรู้แขนงอื่นๆ โดยมีหลักธรรมคำสอนในพระไตรปิฎกสอดแทรกในบทเรียนการศึกษาวิชาชั้นสูงในรูปแบบมหาวิทยาลัย ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาขึ้นเพื่อถวายแด่คณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย โดยเริ่มจัดการเรียนการสอนด้านพุทธศาสตร์เป็นสาขาแรก แล้วต่อมาได้ขยายการเรียนการสอนไปยังสาขาวิชาอื่นๆ คล้ายกับรูปแบบการก่อตั้ง มหาวิทยาลัยปารีส ประเทศฝรั่งเศส และมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ ที่เริ่มต้นจากสาขาด้านศาสนาแล้วขยายไปยังสาขาวิชาอื่นๆ
คณะสังคมศาสตร์ เป็น ๑ ในหน่วยการบริหารการศึกษาาะดับคณะ ของมหาวิทยาบลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่มีประวัติการก่อตั้งตั้งแต่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๗ จนกระทั่งปัจจุบัน[1]
ประวัติและพัฒนการการ
[แก้]พุทธศักราช ๒๕๒๖ ตั้งคณะสังคมศาสตร์ โดยแยกคณะมานุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ออกเป็น ๒ คณะคือ (๑) คณะมนุษยศาสตร์ (๒) คณะสังคมศาสตร์ ดังกล่าวแล้ว ปัจจุบัน การบริหารงานในคณะสังคมศาสตร์แบ่งเป็น ๔ ภาควิชา เปิดสอนทุกระดับ รวม ๒๔ หลักสูตร/สาขาวิชา ดังนี้
๑) ภาควิชารัฐศาสตร์
[แก้]เปิดสอนระดับต่ำกว่าปริญญาตรี ๒ หลักสูตร ดังนี้
๑.๑ หลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ์
๑.๒ หลักสูตรประกาศนียบัตรการบริการท้องถิ่น
เปิดสอนระดับปริญญาตรี ๓ หลักสูตร ดังนี้
๑.๓ หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์
๑.๔ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
๑.๕ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ
เปิดสอนระดับปริญญาโท ๓ หลักสูตร ดังนี้
๑.๖ หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์
๑.๗ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
๑.๘ หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ
เปิดสอนระดับปริญญาเอก ๓ หลักสูตร ดังนี้
๑.๙ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์
๑.๑๐ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
๑.๑๑ หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ
๒) ภาควิชาเศรษฐศาสตร์
[แก้]เปิดสอนระดับปริญญาตรี ๑ หลักสูตร ดังนี้
๒.๑ หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์
๓) ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
[แก้]เปิดสอนระดับต่ำกว่าปริญญาตรี ๒ หลักสูตร ดังนี้
๓.๑ หลักสูตรประกาศนียบัตรอาณาบริเวณศึกษา(หลักสูตรนานาชาติ)
๓.๒ หลักสูตรประกาศนียบัตรนวัตกรรมชุมชน
เปิดสอนระดับปริญญาตรี ๓ หลักสูตร ดังนี้
๓.๓ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสังคม
๓.๔ หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
๓.๕ หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์จิตเวช
เปิดสอนระดับปริญญาโท ๒ หลักสูตร ดังนี้
๓.๖ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสังคม
๓.๗ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมสังคมและวัฒนธรรมสร้างสรรค์
เปิดสอนระดับปริญญาเอก ๑ หลักสูตร ดังนี้
๓.๘ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสังคม
๔) ภาควิชานิติศาสตร์
[แก้]เปิดสอนระดับปริญญาตรี ๑ หลักสูตร ดังนี้
๔.๑ หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์
เปิดสอนระดับปริญญาโท ๑ หลักสูตร ดังนี้
๔.๒ หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์
เปิดสอนระดับปริญญาเอก ๒ หลักสูตร ดังนี้
๔.๓ หลักสูตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์
๔.๔ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์
ผู้บริหารระดับคณะ
[แก้]๑ พระอุดมสิทธินายก รศ ดร
๒ พระวชิรกิตติบัณฑิต