จุดมองโกเลีย
หน้าตา
จุดมองโกเลีย (Mongolian spot) | |
---|---|
จุดมองโกเลียพบจากเด็กทารกชาวไต้หวันวัยหกเดือน | |
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | D22.5 (ILDS D22.505) |
ICD-9 | 757.33 (CDC/BPA 757.386) |
DiseasesDB | 8342 |
MedlinePlus | 001472 |
eMedicine | derm/{{{eMedicineTopic}}} |
MeSH | D049328 |
จุดมองโกเลีย หรือ "ตูดหมึก" หรือ "เคนคราม" (อังกฤษ: Mongolian spot, Mongolian blue spot, congenital dermal melanocytosis, dermal melanocytosis[1]) เป็นปานแต่กำเนิดแบนไม่ร้าย มีขอบเป็นคลื่นและรูปทรงไม่แน่นอน เออร์วิน เบลซ์ (Erwin Bälz) เป็นผู้ค้นพบและตั้งชื่อตามชาวมองโกเลีย[2][3] จุดดังกล่าวยังชุกอย่างยิ่งในชาวเอเชียเหนือ เอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อื่น ชาวเกาะกลุ่มเกาะมลายู ชนพื้นเมืองโอเชียเนีย (ชาวไมโครนีเซียและพอลินีเซียเป็นหลัก) ชาวอเมริกันอินเดียน ชาวแอฟริกาตะวันออก ชาวละตินอเมริกาและแคริบเบียนซึ่งมีการสืบเชื้อสายเชื้อชาติผสม และชาวตุรกี[4][5][6] ปกติหายไปสามถึงห้าปีหลังเกิด และแทบไม่เหลือถึงวัยเริ่มเจริญพันธุ์[7] สีน้ำเงินพบมากที่สุด แต่อาจเป็นสีน้ำเงินเทา น้ำเงินดำหรือน้ำตาลเข้มก็ได้
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Rapini, Ronald P.; Bolognia, Jean L.; Jorizzo, Joseph L. (2007). Dermatology: 2-Volume Set. St. Louis: Mosby. p. 1720. ISBN 1-4160-2999-0.
{{cite book}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) - ↑ Die koerperlichen Eigenschaften der Japaner.(1885) Baelz.E. Mittheil.d.deusch Gesell.f.Natur-u-Voelkerheilkunde Ostasiens. Bd.4.H.32
- ↑ Circumscribed dermal melanosis (Mongolian spot)(1981) Kikuchi I, Inoue S. in "Biology and Diseases of Dermal Pigmentation", University of Tokyo Press , p83
- ↑ "Frequency and characteristics of Mongolian spots among Turkish children in Aegean region". July 2006.
- ↑ About Mongolian Spot
- ↑ Mongolian blue spots เก็บถาวร 2017-01-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - Health care guide discussing the Mongolian blue spot.
- ↑ Mongolian Spot DrGreen.com