พ.ศ. 2442
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก ค.ศ. 1899)
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2442 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1899 MDCCCXCIX |
Ab urbe condita | 2652 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1348 ԹՎ ՌՅԽԸ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6649 |
ปฏิทินบาไฮ | 55–56 |
ปฏิทินเบงกอล | 1306 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2849 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 62 Vict. 1 – 63 Vict. 1 |
พุทธศักราช | 2443 |
ปฏิทินพม่า | 1261 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7407–7408 |
ปฏิทินจีน | 戊戌年 (จอธาตุดิน) 4595 หรือ 4535 — ถึง — 己亥年 (กุนธาตุดิน) 4596 หรือ 4536 |
ปฏิทินคอปติก | 1615–1616 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3065 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1891–1892 |
ปฏิทินฮีบรู | 5659–5660 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 1955–1956 |
- ศกสมวัต | 1821–1822 |
- กลียุค | 5000–5001 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11899 |
ปฏิทินอิกโบ | 899–900 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1277–1278 |
ปฏิทินอิสลาม | 1316–1317 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชเมจิ 32 (明治32年) |
ปฏิทินจูเช | N/A |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 12 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4232 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | 13 ก่อน ROC 民前13年 |
พุทธศักราช 2442 (นับแบบใหม่) ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1899 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน
- ปีกุน เอกศก จุลศักราช 1261 (วันที่ 14 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
ผู้นำ
[แก้]- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453)
- เจ้าประเทศราช:
- เจ้าผู้ครองนครลำพูน: เจ้าอินทยงยศโชติ (3 มกราคม พ.ศ. 2441 - 18 มีนาคม พ.ศ. 2454)
- เจ้าผู้ครองนครลำปาง: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต (3 มกราคม พ.ศ. 2441 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2465)
- เจ้าผู้ครองนครน่าน: พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช (21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2437 - 5 เมษายน พ.ศ. 2461)
- เจ้าผู้ครองนครแพร่: เจ้าพิริยเทพวงษ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2433 - 25 กันยายน พ.ศ. 2445)
- เจ้าประเทศราช:
เหตุการณ์
[แก้]- 4 กุมภาพันธ์ - สงครามฟิลิปปินส์-อเมริกา เริ่มต้นขึ้น
- 6 มีนาคม - บริษัทไบเออร์จดทะเบียนแอสไพรินเป็นเครื่องหมายการค้า
- 15 สิงหาคม - มีการประกาศตัดถนนหลวงสายใหม่ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานนามว่า "ราชดำเนิน"
- 29 พฤศจิกายน - สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาก่อตั้งขึ้นเป็นครั้งแรก
ไม่ทราบวัน
[แก้]- ค้นพบ ธาตุแอกทิเนียม
- ปีสถาปนา โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย
ไม่ทราบวัน
[แก้]วันเกิด
[แก้]- 30 มกราคม - แมกซ์ ไทเลอร์ (เสียชีวิต 11 สิงหาคม พ.ศ. 2515)
- 11 มีนาคม - สมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (สวรรคต 14 มกราคม พ.ศ. 2515)
- 5 เมษายน - หม่อมเจ้าวิศิษฎ์สวัสดิรักษ์ สวัสดิวัตน์ (สิ้นชีพิตักษัย 26 ธันวาคม พ.ศ. 2531)
- 3 กรกฎาคม - พระนางเธอ ลักษมีลาวัณ (สิ้นพระชนม์ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504)
- 9 กรกฎาคม - หม่อมเจ้าอุปลีสาณ ชุมพล (สิ้นชีพิตักษัย 17 กันยายน พ.ศ. 2517)
- 11 กรกฎาคม - อี.บี. ไวท์ นักประพันธ์ชาวอเมริกัน (เสียชีวิต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2528)
- 21 กรกฎาคม - เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์ นักประพันธ์ชาวอเมริกัน (เสียชีวิต 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2504)
- 13 สิงหาคม - อัลเฟรด ฮิตช์ค็อก ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอังกฤษ (เสียชีวิต 29 เมษายน พ.ศ. 2523)
- 29 ตุลาคม - หม่อมเจ้าไขแสงรพี รพีพัฒน์ (สิ้นชีพิตักษัย 19 ตุลาคม พ.ศ. 2521)
วันถึงแก่กรรม
[แก้]วันสิ้นพระชนม์
[แก้]- 17 มิถุนายน – สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์ พระราชโอรสในรัชกาลที่ 5 และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า (ประสูติ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2425)