คูยะ
หน้าตา
คูยะ (空也; Kūya; 903-972) เป็นพระสงฆ์พนเจรชาวญี่ปุ่น หรือที่เรียกว่า ฮิจิริ (聖; hijiri) ต่อมาได้เข้าบวชในนิกายเท็นได ที่ซึ่งสร้างความนิยมในกับการปฏิบัติเน็มบุตสึ ความพยายามของคูยะช่วยให้แนวคิดของพุทธวิสุทธิภูมิในศาสนาพุทธเผยแพร่ไปถึงเมืองหลวงในขณะนั้นของญี่ปุ่น และได้รับความนิยม ด้วยความทุ่มเทต่าง ๆ นี้ คูยะได้รับการขนานนามให้เป็น อิจิฮิจิริ (พระของตลาด) และ อามิดาฮิจิริ[10] คูยะเป็นที่รู้จักในฐานะพระผู้นำเอาการร่ายรำ ละเล่น และดนตรี เข้ามาประกอบกับบทสวดมนต์ เรียกว่าโอโดริเน็มบุตสึ[11] เช่นเดียวกับ เกียวกิ ทั้งคู่เชื่อว่าได้ทำประโยชน์ให้กับสาธารณะผ่านการสร้างถนน สะพาน ขุดบ่อน้ำ และช่วยฝังศพไร้ญาติ[12][13][14]
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Rokuharamitsuji - Important Cultural Properties". Rokuharamitsu-ji. สืบค้นเมื่อ 20 April 2011.
- ↑ "Database of Registered National Cultural Properties". Agency for Cultural Affairs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 March 2012. สืบค้นเมื่อ 20 April 2011.
- ↑ Mōri, Hisashi (1977). Japanese Portrait Sculpture. Kodansha. pp. 83–85, 116. ISBN 0-87011-286-4.
- ↑ "Tsukinowa-dera". Blog (images and map). สืบค้นเมื่อ 20 April 2011.
- ↑ "Database of Registered National Cultural Assets". Agency for Cultural Affairs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 March 2012. สืบค้นเมื่อ 20 April 2011.
- ↑ "Jōdoji Kūya". Matsuyama City. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 July 2011. สืบค้นเมื่อ 20 April 2011.
- ↑ "Database of Registered National Cultural Properties". Agency for Cultural Affairs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 March 2012. สืบค้นเมื่อ 20 April 2011.
- ↑ "Shōgonji Kūya". Shiga Prefecture. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 July 2011. สืบค้นเมื่อ 20 April 2011.
- ↑ "Database of Registered National Cultural Properties". Agency for Cultural Affairs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 March 2012. สืบค้นเมื่อ 20 April 2011.
- ↑ Rhodes, Robert F.; Payne, Richard K. (2017). Genshin’s Ōjōyōshū and the Construction of Pure Land Discourse in Heian Japan (Pure Land Buddhist Studies). University of Hawaii Press. pp. 64–72. ISBN 0824872487.
- ↑ Moriarty, Elisabeth (1976). Nembutsu Odori, Asian Folklore Studies 35 (1), 7-16
- ↑ Hori, Ichiro (1968). Folk Religion in Japan: Continuity and Change. University of Chicago Press. pp. 106–8. ISBN 0-226-35334-6.
- ↑ Tamura, Yoshiro (2000). Japanese Buddhism: A Cultural History. Kosei Publishing. pp. 82–85. ISBN 4-333-01684-3.
- ↑ Hall, John Whitney (et al. edd.) (1999). Cambridge History of Japan Vol.II. Cambridge University Press. pp. 514, 574. ISBN 0-521-22353-9.
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Chilson, Clark (2007). Eulogizing Kūya as More than a Nenbutsu Practitioner: A Study and Translation of the Kūyarui, Journal of the International Buddhist Association 34 (2), 305-327