ข้ามไปเนื้อหา

คุยกับผู้ใช้:รมณ ทรงศิริเลิศ

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
เพิ่มหัวข้อ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ความเห็นล่าสุดเมื่อ: 7 ปีที่แล้ว โดย New user message ในหัวข้อ ยินดีต้อนรับสู่วิกิพีเดียภาษาไทย

ยินดีต้อนรับสู่วิกิพีเดียภาษาไทย

ยินดีต้อนรับคุณ รมณ ทรงศิริเลิศ สู่วิกิพีเดียภาษาไทย หน้าต่อไปนี้อาจเป็นประโยชน์แก่คุณ:

มือใหม่ขอแนะนำอย่างยิ่งให้คุณเริ่มจากแก้หรือต่อเติมบทความที่มีอยู่แล้วก่อน ไม่ควรรีบสร้างบทความด้วยตัวเองเพราะมักไม่ผ่านและถูกลบ

แนะนำเว็บ

และ

เรียนรู้การแก้ไข (ขอใช้เวลาอ่านไม่นานเพื่อให้ทราบพื้นฐาน)

อีกทางหนึ่ง อ่านหน้า การเข้ามีส่วนร่วมในวิกิพีเดีย ซึ่งสรุปทุกอย่างไว้หน้าเดียว

ฉันอ่านหมดแล้วยังไม่เข้าใจเลย
ถามที่แผนกช่วยเหลือ หรือ ถามในหน้านี้แหละ! หรือ ใช้ แชตดิสคอร์ด

อย่าลืมลงชื่อในหน้าพูดคุย โดยการพิมพ์ --~~~~ จะปรากฏชื่อและวันเวลา

Hello รมณ ทรงศิริเลิศ! Welcome to Thai Wikipedia. If you are not a Thai speaker, you can ask a question in our Guestbook.


-- New user message (พูดคุย) 11:11, 4 เมษายน 2560 (+07)ตอบกลับ

การปฏิรูปการคลังในรัชกาลที่5[แก้]

การคลัง(Publice Finance) มีความหมายตรงตามชื่อ คือเป็นเรื่องเกี่ยวกับการเงินที่รัฐบาลมีส่วนเกี่ยวข้องในกระบวนการการใช้จ่ายของส่วนรวม หรือว่าด้วยเรื่องของงบประมาณแผ่นดิน ระบบการคลังของไทยก่อนรัชกาลที่5 --ข้อความนี้ไม่ได้ลงชื่อ ซึ่งออกความเห็นโดยผู้ใช้ รมณ ทรงศิริเลิศ (พูดคุยหน้าที่เขียน) 16:24, 4 เมษายน 2560 (ICT)

    การคลังของไทยมีมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย ซึ่งในสมัยกรุงสุโขทัยได้มีการจัดตั้ง"จังกอบ" หมายถึงภาษีหรือค่าผ่านด่านสินค้าทั้งในทางบกและทางน้ำและขนาดของเรือหรือเกวียนที่ผ่านด่านขนอนนั้น เรียกว่า"อากรด่านขนอน" ในสมัยกรุงสุโขทัยได้มีการใช้เงินตราแลกเปลี่ยนกับสินค้าที่เป็นเอกลักษณ์ให้ในสมัยกรุงสุโขทัย คือ"เงินพดด้วง"ที่ชาวบ้านสมัยนั้นช่วยกันผลิตขึ้นมาเอง โดยวัสดุที่ผลิตคือโลหะเงิน มีลักษณะสันฐานกลม มีขาปลายแหลมยาวงอติดชิดกันทำให้เกิดรูขนาดใหญ่ระหว่างขา มีผิวที่ไม่เรียบเพื่อให้บ่งบอกถึงความบริสุทธิ์ของเนื้อเงิน และมีตราประทับ ซึ่งตราประทับบ่งบอกถึงเจ้าเมืองหรือผู้มีอำนาจที่ผลิตมีทั้งหมด7ตราด้วยกันได้แก่ ราชสีห์ ช้าง หอยสังข์ ธรรมจักร กระต่าย ราชวัติ และบัว เงินพดด้วงมีการถูกใช้จนถึงสมัยรัชกาลที่5

ในสมัยกรุงศรีอยุธยาได้พัฒนาจนเกิดการจัดตั้ง"จตุสดมภ์" ได้แก่ เวียง วัง คลัง และนา คือชื่อเรียกของระบบการปกครองส่วนกลางในสมัยนั้น ต่อมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นเกิดการปฏิรูประบบการจัดเก็บภาษี ซึ่งภาษีอากรในยุคนี้นั้นจำแนกเป็น4ชนิด ได้แก่ จังกอบ คือเงินค่าผ่านด่านจากการเรียกเก็บสินค้าที่ไม่มีการจัดเก็บกับบุคคลที่มีรายได้น้อยเพื่อเป็นการสนับสนุนในการค้าให้มากขึ้น ส่วย คือการเรียกเก็บสิ่งของโดยแทนการเกณฑ์แรงงานซึ่งชายที่มีอายุ20-60ปีที่จะต้องถูกไปเป็นไพร่หากไม่ต้องการเป็นจะต้องจ่ายเป็นส่วยแทน ฤชา คือค่าธรรมเนียมที่ประชาชนได้ผลประโยชน์จากรัฐในกรณีส่วนตัว อากร คือการเก็บรายได้ที่ประชาชนหามาได้ในการทำอาชีพต่างๆถือเป็นภาษีที่ได้รับผลประโยชน์จากรัฐทั้งทางตรงและทางอ้อม ในรัชกาลที่3 --ข้อความนี้ไม่ได้ลงชื่อ ซึ่งออกความเห็นโดยผู้ใช้ รมณ ทรงศิริเลิศ (พูดคุยหน้าที่เขียน) 11:11, 25 เมษายน 2560 (ICT)