ความขัดแย้งตึกรัย
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
เนื้อหาในบทความนี้ล้าสมัย โปรดปรับปรุงข้อมูลให้เป็นไปตามเหตุการณ์ปัจจุบันหรือล่าสุด ดูหน้าอภิปรายประกอบ |
ความขัดแย้งตึกรัย | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ ความขัดแย้งในภูมิภาคฮอร์นออฟแอฟริกา | |||||||
ที่ตั้งของภูมิภาคตึกรัยในประเทศเอธิโอเปีย (สำหรับแผนที่ที่มีข้อมูลมากกว่านี้ สามารถดูที่นี่) | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
เอธิโอเปีย เอริเทรีย (มีการกล่าวหา) |
ภูมิภาคตึกรัย | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
อาบีย์ อาห์เม็ด (ประธานาธิบดีเอริเทรัย) Filipos Woldeyohannes (รัฐมนตรีกลาโหม) |
Debretsion Gebremichael
| ||||||
หน่วยที่เกี่ยวข้อง | |||||||
กองกำลัลแห่งชาติเอธิโอเปีย
ตำรวจภูมิภาคอัมฮารา ตั้งรับ: กองกำลังเอริเทรีย |
| ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
เสียชีวิต 4770 ราย (ข้อมูลจากรัฐบาล)[12] | |||||||
พลเมืองอย่างน้อย 4770 รายเสียชีวิต; หลายพันที่อาจเสียชีวิตแล้ว[13][14][15][16][17] |
ความขัดแย้งตึกรัย (อังกฤษ: Tigray conflict) เป็นความขัดแย้งที่มีการสู้รบ เริ่มต้นขึ้นในเดือนพฤศจิกายน 2020 ในภูมิภาคตึกรัย ประเทศเอธิโอเปีย ระหว่างกองกำลังพิเศษภูมิภาคตึกรัยที่นำโดย แนวหน้าประชาชนตึกรัยเพื่ออิสรภาพ (TPLF) กับกองกำลังแห่งชาติเอธิโอเปีย (ENDF) ภายใต้พันธมิตรกับกองกำลังพิเศษภูมิภาคอัมฮารา[18]
ความขัดแย้งนี้มีที่มาจากความพยายามของนายกรัฐมนตรีเอธิโอเปีย อาบีย์ อาห์เม็ด ก็จะเปลี่ยนทิศทางการเมืองของประเทศเอธิโอเปียจากสหภาพชาติพันธุ์ ระบบที่ซึ่งมีการกระจายอำนาจและให้อิทธิพลระดับท้องถิ่นกับกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ โดยเขาต้องการจะรวมพรรคการเมืองท้องถิ่นและของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ของแนวหน้าประชาชนปฏิวัติประชาธิปไตยเอธิโอเปีย ซึ่งปกครองเอธิโอเปียเป็นเวลากว่า 30 ปี รวมกันเป็นพรรควิโรฒ พรรคเดียว
TPLF ซึ่งนำโดยเดเบรทซีออน เกเบรมิเคิล ได้คะแนนนำในการเลือกตั้งท้องถิ่นตึกรัยเมื่อเดือนกันยายน 2020 นำหน้ารัฐบาลสหพันธรัฐซึ่งต่อมาได้ประกาศให้การเลือกตั้งที่ตึกรัยไม่ชอบด้วยกฎหมาย[19]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "African Union: Agreement reached on permanent cessation of hostilities in Ethiopia". National Post. 2 November 2022.
- ↑ Winning, Alexander; Cocks, Tim (2 November 2022). "Combatants in Ethiopia's Tigray war agree to stop fighting". Reuters.
- ↑ Feleke, Bethlehem (3 November 2022). "Warring parties in Ethiopia agree on 'permanent cessation of hostilities'". CNN World.
- ↑ Mersie, Ayenat (12 November 2022). "Ethiopia combatants sign deal to start implementing truce". Reuters.
- ↑ https://english.aawsat.com/home/article/3983166/ethiopia-truce-implementation-start-%E2%80%98immediately%E2%80%99-mediator-says
- ↑ "Ethiopia Rivals Agree on Humanitarian Access for Tigray". International Business Times. 12 November 2022.
- ↑ "Wieder Luftangriffe der Armee in Tigray" (ภาษาเยอรมัน). Deutsche Welle. 9 November 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 November 2020. สืบค้นเมื่อ 9 November 2020.
- ↑ "Ethiopian troops 'liberate' key town in Tigray, claim officials". The Guardian. 17 November 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 November 2020. สืบค้นเมื่อ 17 November 2020.
- ↑ "Is the Horn of Africa facing a wider conflict?". Al Jazeera. 15 November 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 November 2020. สืบค้นเมื่อ 18 November 2020.
- ↑ "Air strikes in Ethiopia's Tigray region will continue, PM says". CNN. Reuters. 7 November 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 November 2020. สืบค้นเมื่อ 7 November 2020.
- ↑ Giulia Paravicini (November 18, 2020). "Ethiopian troops push for regional capital, rebels promise 'hell'". Reuters.
- ↑ "Ethiopia: 550 rebels dead as Tigray offensive continues". Anadolu Agency. 11 November 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 November 2020. สืบค้นเมื่อ 11 November 2020.
- ↑ "Ethiopia: Investigation reveals evidence that scores of civilians were killed in massacre in Tigray state". Amnesty International. 12 November 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 November 2020. สืบค้นเมื่อ 12 November 2020.
- ↑ "Ethiopia commission says Tigray youth group killed 600 civilians in November 9 attack". Nairobi. Reuters. November 24, 2020. สืบค้นเมื่อ November 24, 2020.
- ↑ "Tigray rebels say nine civilians killed in Ethiopian attack". Reuters. November 21, 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-02-19. สืบค้นเมื่อ 2020-11-29.
- ↑ "Ethiopia crisis: Tigray leader vows to keep fighting as government advances". BBC.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อcapture
- ↑ Paravicini, Giulia; Endeshaw, Dawit (4 November 2020). "Ethiopia sends army into Tigray region, heavy fighting reported". Reuters. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 November 2020. สืบค้นเมื่อ 4 November 2020.
- ↑ "Ethiopia appoints new Tigray leader, Amnesty reports 'massacre'". www.aljazeera.com.