กีฬายกน้ำหนักในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 – รุ่น 77 กิโลกรัม ชาย
ชาย 77 กก. ในโอลิมปิกครั้งที่ 31 | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
สนาม | รีอูเซงตรู | ||||||||||||
วันที่ | 10 สิงหาคม | ||||||||||||
จำนวนนักกีฬา | 13 คน จาก 13 ประเทศ | ||||||||||||
ชนะทั้งหมด | 379 กก. | ||||||||||||
ผู้ที่ได้รับเหรียญรางวัล | |||||||||||||
| |||||||||||||
กีฬายกน้ำหนักใน โอลิมปิกฤดูร้อน 2016 | |||||
---|---|---|---|---|---|
รายชื่อนักยกน้ำหนัก | |||||
ชาย | หญิง | ||||
56 กก. | 48 กก. | ||||
62 กก. | 53 กก. | ||||
69 กก. | 58 กก. | ||||
77 กก. | 63 กก. | ||||
85 กก. | 69 กก. | ||||
94 กก. | 75 กก. | ||||
105 กก. | +75 กก. | ||||
+105 กก. |
การแข่งขันยกน้ำหนัก ชาย 77 กก. ที่ โอลิมปิกฤดูร้อน 2016 ใน รีโอเดจาเนโร จัดขึ้นเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม ที่ เดอะ ปาวีลีอง 2 ของ รีอูเซงตรู.[1]
แต่เดิมแล้ว นีจัต ราฮีมอฟ จากประเทศคาซัคสถาน เป็นผู้ได้รับรางวัลเหรียญทองจากการแข่งขันรายการนี้ แต่ศาลอนุญาโตตุลาการการกีฬาได้ตัดสินให้ริบเหรียญรางวัลคืนเมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 2022 เนื่องจากมีการตรวจสอบย้อนหลังพบว่ามีสารกระตุ้นปะปนในตัวอยางปัสสาวะของเขาก่อนการแข่งขัน[2][3] ส่งผลให้มีการจัดลำดับเหรียญรางวัลในการแข่งขันรายการนี้ใหม่ แต่คณะกรรมการโอลิมปิกสากลยังไม่สามารถประกาศผลอย่างเป็นทางการได้จนกว่ากระบวนการตรวจสอบสารกระตุ้นดังกล่าวในนักกีฬารายอื่นๆ ที่ร่วมการแข่งขันรายการเดียวกันจะเสร็จสิ้น[4]
ในปี ค.ศ. 2024 ได้มีการตรวจสอบพบว่า ลฺหวี่ เสี่ยวจุน ผู้ได้รับรางวัลเหรียญเงิน จากประเทศจีน และโมฮาเหม็ด มะห์มูด ผู้ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง จากประเทศอียิปต์ ปรากฏผลการใช้สารกระตุ้นในการแข่งขันดังกล่าวเช่นกัน และได้มีการประกาศริบเหรียญรางวัลแล้ว โดยลฺหวี่ เสี่ยวจุน อยู่ระหว่างการยื่นอุทธรณ์ผลการตัดสินต่อศาลอนุญาโตตุลาการการกีฬา ทำให้มีความเป็นไปได้อย่างยิ่งว่า จตุภูมิ ชินวงศ์ จากประเทศไทย จะได้รับการเลื่อนอันดับผลการแข่งขันขึ้นมาอยู่ในลำดับที่ได้รับรางวัลเหรียญทองหรือเหรียญเงินจากการแข่งขันกีฬายกน้ำหนักรายการนี้แทน[5]
ตารางการแข่งขัน
[แก้]เวลาทั้งหมดเป็น เวลาในบราซิล (UTC-03:00)
วันที่ | เวลา | ประเภท |
---|---|---|
10 สิงหาคม 2559 | 10:00 | กลุ่ม บี |
19:00 | กลุ่ม เอ |
สถิติ
[แก้]ก่อนที่จะมีการแข่งขันครั้งนี้ สถิติโลกและโอลิมปิกที่มี่อยู่มีดังต่อไปนี้.
สถิติโลก | สแนตช์ | ลฺหวี่ เสี่ยวจุน (CHN) | 176 กก. | วรอตสวัฟ, โปแลนด์ | 24 ตุลาคม ค.ศ. 2013 |
คลีนแอนด์เจิร์ก | โอเลก เปเรเปตเชนอฟ (RUS) | 210 กก. | เตรนชีน, สโลวาเกีย | 27 เมษายน ค.ศ. 2001 | |
ทั้งหมด | ลฺหวี่ เสี่ยวจุน (CHN) | 380 กก. | วรอตสวัฟ, โปแลนด์ | 24 ตุลาคม ค.ศ. 2013 | |
สถิติโอลิมปิก | สแนตช์ | ลฺหวี่ เสี่ยวจุน (CHN) | 175 กก. | ลอนดอน, สหราชอาณาจักร | 1 สิงหาคม ค.ศ. 2012 |
คลีนแอนด์เจิร์ก | จาน ซูกัง (CHN) | 207 กก. | ซิดนีย์, ออสเตรเลีย | 22 กันยายน ค.ศ. 2000 | |
ทั้งหมด | ลฺหวี่ เสี่ยวจุน (CHN) | 379 กก. | ลอนดอน, สหราชอาณาจักร | 1 สิงหาคม ค.ศ. 2012 |
ผลการแข่งขัน
[แก้]อันดับ | นักกีฬา | กลุ่ม | น้ำหนักตัว | สแนตช์ (กก.) | คลีนแอนด์เจิร์ก (กก.) | ทั้งหมด | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | 2 | 3 | ผล | 1 | 2 | 3 | ผล | |||||
ลฺหวี่ เสี่ยวจุน (CHN) | A | 76.83 | 170 | 175 | 177 | 177 WR | 197 | 202 | 202 | 379 | ||
โมฮาเหม็ด มะห์มูด (EGY) | A | 76.69 | 160 | 165 | 165 AF | 196 | 196 | 361 | ||||
4 | จตุภูมิ ชินวงศ์ (THA) | A | 76.52 | 160 | 165 | 165 | 191 | 191 | 356 | |||
5 | Alexandru Șpac (MDA) | A | 76.52 | 150 | 155 | 155 | 185 | 190 | 192 | 192 | 347 | |
6 | Andres Mauricio Caicedo (COL) | B | 76.26 | 150 | 155 | 155 | 191 | 191 | 346 | |||
7 | Andrés Mata (ESP) | B | 76.32 | 145 | 150 | 153 | 153 | 185 | 190 | 190 | 343 | |
8 | Choe Jon-wi (PRK) | A | 76.54 | 153 | 153 | 184 | 190 | 190 | 343 | |||
9 | Ibrahim Abdelbaki (EGY) | A | 76.90 | 147 | 152 | 152 | 186 | 186 | 338 | |||
10 | Nico Müller (GER) | B | 76.70 | 145 | 159 | 151 | 151 | 177 | 181 | 181 | 332 | |
11 | Sathish Sivalingam (IND) | B | 76.96 | 143 | 148 | 148 | 176 | 181 | 181 | 329 | ||
12 | Deni (INA) | B | 69.38 | 140 | 146 | 146 | 172 | 177 | 177 | 323 | ||
– | Andranik Karapetyan (ARM) | A | 76.75 | 170 | 174 | 174 | – | DNF | DNF | |||
– | Dumitru Captari (ROU) | B | 76.68 | 145 | 145 | – | – | – | DNF | DNF | ||
DSQ | |
A | 76.19 | 160 | 165 | 202 | 214 | – |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Rio 2016: Weightlifting". Rio 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-17. สืบค้นเมื่อ 2015-04-17.
- ↑ "Kazakhstan's Nijat Rahimov stripped of Rio 2016 Olympic gold medal and banned". BBC Sport. 22 March 2022. สืบค้นเมื่อ 22 March 2022.
- ↑ "The ITA welcomes the decision of CAS confirming the sanction of weightlifter Nijat Rahimov for sample swapping". International Testing Agency. 12 Dec 2023. สืบค้นเมื่อ 1 Feb 2024.
CAS confirmed that Nijat Rahimov should be sanctioned with 8 years of ineligibility. The disqualification of all results obtained by the athlete from 15 March 2016 (date of the first evidence of urine substitution) until the provisional suspension imposed on 18 January 2021, which includes the gold medal obtained at the Olympic Games Rio 2016 (Men’s 77 kg), was also confirmed.
- ↑ Oliver, Brian (22 March 2022). "More shame for weightlifting as memorable Rio 2016 contest exposed as a sham". insidethegames.biz. สืบค้นเมื่อ 2022-03-26.
The reallocation process goes through several phases and, according to the International Olympic Committee (IOC), it could be finished this year or it could take until 2024.
- ↑ "คนไทยรอเฮ "เสธ.ยอด" มั่นใจ "จตุภูมิ" คว้าเหรียญทองย้อนหลัง ยกน้ำหนัก "โอลิมปิก 2016"". ไทยรัฐ. สืบค้นเมื่อ 2024-08-15.