ข้ามไปเนื้อหา

การเรียนรู้แบบร่วมมือ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การเรียนรู้แบบร่วมมือ (อังกฤษ: Cooperative learning) เป็นการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการกลุ่มย่อยที่สมาชิกมีความสามารถแตกต่างกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของกลุ่ม[1]: 98  การเรียนรู้ลักษณะนี้ต่างจากการเรียนรู้เพียงลำพัง ซึ่งมักเกิดการแข่งขันขึ้นเป็นเรื่องปกติ โดยผู้เรียนสามารถใช้ประโยชน์จากทักษะและองค์ความรู้ของผู้เรียนคนอื่นได้ ผ่านการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ช่วยเหลือพึ่งพากัน รับผิดชอบร่วมกันทั้งในส่วนตนและส่วนรวม [2][3] นอกจากนี้บทบาทของครูผู้สอนเปลี่ยนจากผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้อำนวยการการเรียนรู้ของผู้เรียน การเรียนรู้รูปแบบนี้หากกลุ่มประสบความสำเร็จ ย่อมหมายถึงผู้เรียนทุกคนประสบความสำเร็จในการเรียนด้วย[4][5]

อ้างอิง

[แก้]
  1. แขมมณี, ทิศนา (2014). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ISBN 9789740318576.
  2. "Team game Tournament: Cooperative learning and review".
  3. Chiu, M. M. (2008). "Flowing toward correct contributions during groups' mathematics problem solving: A statistical discourse analysis" (PDF). Journal of the Learning Sciences. 17 (3): 415–463. doi:10.1080/10508400802224830. S2CID 16293640. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-03-29. สืบค้นเมื่อ 2011-04-27.
  4. "team game tournament". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-12-23. สืบค้นเมื่อ 2015-09-12.
  5. "Team Game Tournament" (PDF).