การศึกษาภาษาญี่ปุ่นในประเทศไทย
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
การศึกษาภาษาญี่ปุ่นในประเทศไทย บันทึกว่ามีจัดการเรียนการสอนยุคแรกเมื่อปีพุทธศักราช 2477 ในระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 7-8 แผนกวิสามัญภาษาต่างประเทศ ณ โรงเรียนมัธยมวัดบพิตรภิมุข กรมวิสามัญศึกษา กระทรวงธรรมการ ปัจจุบันคือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ พื้นที่บพิตรพิมุข จักรวรรดิ และเริ่มการสอนระดับอุดมศึกษาที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดสอนวิชาภาษาญี่ปุ่นเป็นวิชาเลือกใน พ.ศ. 2487
ตามข้อมูลเมื่อ พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) ประเทศไทยมีสถาบันสอนภาษาญี่ปุ่นอยู่ 385 แห่ง ครูสอนภาษาญี่ปุ่น 1,153 คน และนักเรียนอีก 71,083 คน[1][2][3]
สถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยที่เปิดสอนภาษาญี่ปุ่นเป็นวิชาเอกในระดับปริญญาตรี เรียงตามปีพุทธศักราช
[แก้]การสอบวัดระดับความสามารถ
[แก้]ปี | เมือง | ระดับ | ||||
---|---|---|---|---|---|---|
L1 | L2 | L3 | L4 | รวม | ||
พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009)[4] |
กรุงเทพฯ | 958 | 2,993 | 4,591 | 4,952 | 13,494 |
เชียงใหม่ | 65 | 315 | 597 | 964 | 1,941 | |
สงขลา | 4 | 35 | 78 | 261 | 378 | |
ขอนแก่น | 12 | 129 | 379 | 435 | 955 | |
รวม | 1,039 | 3,472 | 5,645 | 6,612 | 16,768 | |
พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008)[5] |
กรุงเทพฯ | 754 | 2,704 | 4,356 | 5,037 | 12,851 |
เชียงใหม่ | 64 | 239 | 639 | 910 | 1,852 | |
สงขลา | 1 | 18 | 80 | 220 | 319 | |
ขอนแก่น | 8 | 94 | 316 | 406 | 824 | |
รวม | 827 | 3,055 | 5,391 | 6,573 | 15,846 | |
พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006)[6] |
กรุงเทพฯ | 700 | 1,949 | 3,100 | 3,900 | 9,649 |
เชียงใหม่ | 52 | 202 | 628 | 1,021 | 1,794 | |
สงขลา | 4 | 37 | 89 | 291 | 463 | |
พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005)[7] |
กรุงเทพฯ | 633 | 1,616 | 2,416 | 3,456 | 8,121 |
เชียงใหม่ | 56 | 164 | 409 | 1,120 | 1,749 | |
สงขลา | 7 | 41 | 122 | 293 | 463 | |
พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004)[8] |
กรุงเทพฯ | 434 | 1,280 | 1,940 | 2,719 | 6,373 |
เชียงใหม่ | 35 | 170 | 333 | 798 | 1,336 | |
สงขลา | 2 | 33 | 94 | 180 | 309 | |
พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003)[9] |
กรุงเทพฯ | 380 | 1,188 | 1,773 | 2,735 | 6,076 |
เชียงใหม่ | 27 | 151 | 273 | 746 | 1,197 | |
พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001)[10] |
กรุงเทพฯ | 211 | 681 | 1,198 | 1,774 | 3,864 |
เชียงใหม่ | 18 | 61 | 157 | 303 | 539 | |
พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000)[11] |
กรุงเทพฯ | 194 | 696 | 960 | 1,338 | 3,188 |
เชียงใหม่ | 15 | 70 | 130 | 238 | 453 | |
พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999)[12] |
กรุงเทพฯ | 152 | 544 | 811 | 1,174 | 2,681 |
เชียงใหม่ | 24 | 45 | 120 | 205 | 394 | |
พ.ศ. 2541 (ค.ศ. 1998)[12] |
กรุงเทพฯ | - | - | - | - | 2,175 |
เชียงใหม่ | - | - | - | - | 289 |
แต่ละปีมีการสอบวัดระดับความสามารถทางภาษาญี่ปุ่นในประเทศไทยอย่างน้อยสามแห่ง เริ่มแรกจัดเฉพาะในจังหวัดเชียงใหม่และกรุงเทพมหานคร ต่อมาใน พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2006) จึงจัดเพิ่มที่จังหวัดสงขลา[9] ปัจจุบันมีการจัดสอบที่จังหวัดขอนแก่นและอุบลราชธานีด้วย และเปิดรับสมัครสอบวัดระดับเรียนภาษาญี่ปุ่นออนไลน์ JLPT Online[1] โดยสมาคมนักเรียนเก่าญี่ปุ่น (ส.น.ญ.) นอกจากนั้น กรุงเทพมหานครยังเป็นแห่งเดียวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีการสอบวัดระดับความสามารถทางภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (Business Japanese Proficiency Test) ซึ่งเมื่อปี 2546 ได้มีผู้เข้าสอบเป็นจำนวน 232 คน นับได้เป็นร้อยละ 13 ของผู้ทดสอบนอกประเทศญี่ปุ่น[13]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 http://www.arts.chula.ac.th/~east/japanese/activites/history.html เก็บถาวร 2008-03-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ↑ "2003年海外日本語教育機関調査結果: タイ (Results of the 2003 survey of overseas Japanese language educational institutions: Thailand)". The Japan Foundation. 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-07-08. สืบค้นเมื่อ 2008-01-14.
- ↑ "2006年海外日本語教育機関調査結果: タイ (Results of the 2003 survey of overseas Japanese language educational institutions: Thailand)". The Japan Foundation. 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-04-11. สืบค้นเมื่อ 2008-01-14.
- ↑ "Japanese Language Proficiency Test 2009: Summary of the Results" (PDF). Japan Educational Exchanges and Services, The Japan Foundation. 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2010-03-31. สืบค้นเมื่อ 2010-04-20.
- ↑ "Japanese Language Proficiency Test 2008: Summary of the Results". Japan Educational Exchanges and Services, The Japan Foundation. 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-07-27. สืบค้นเมื่อ 2009-07-08.
- ↑ "Japanese Language Proficiency Test 2006: Summary of the Results" (PDF). Japan Educational Exchanges and Services, The Japan Foundation. 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2007-07-10. สืบค้นเมื่อ 2008-01-12.
- ↑ "Japanese Language Proficiency Test 2005: Summary of the Results" (PDF). Japan Educational Exchanges and Services, The Japan Foundation. 2005. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2007-01-06. สืบค้นเมื่อ 2008-01-12.
- ↑ "Japanese Language Proficiency Test 2004: Summary of the Results" (PDF). Japan Educational Exchanges and Services, The Japan Foundation. 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2005-08-27. สืบค้นเมื่อ 2008-01-12.
- ↑ 9.0 9.1 "Japanese Language Proficiency Test 2003: Summary of the Results" (PDF). Japan Educational Exchanges and Services, The Japan Foundation. 2003. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2004-11-17. สืบค้นเมื่อ 2008-01-12.
- ↑ "The 2001 Japanese-Language Proficiency Test Number of Examinees by Sites". The Japan Foundation. 2002-02-14. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2003-04-07. สืบค้นเมื่อ 2006-12-03.
{{cite web}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์) - ↑ "The 2000 Japanese-Language Proficiency Test Number of Examinees by Sites". The Japan Foundation. 2001-02-07. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2003-04-07. สืบค้นเมื่อ 2006-12-03.
{{cite web}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์) - ↑ 12.0 12.1 "The 1999 Japanese-Language Proficiency Test Number of Examinees by Sites". The Japan Foundation. 2000-02-07. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2000-10-18. สืบค้นเมื่อ 2006-12-13.
{{cite web}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์) - ↑ "13th JLRT (2006) : A Summary Report" (PDF). Japan External Trade Organization. 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2007-09-27. สืบค้นเมื่อ 2008-01-12.