ข้ามไปเนื้อหา

การประเมินความก้าวหน้า

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การประเมินความก้าวหน้า หรือ การประเมินย่อย หรือ การประเมินระหว่างเรียน (อังกฤษ: formative assessment) เป็นการประเมินที่กระทำโดยผู้สอนระหว่างกระบวนการเรียนรู้ เพื่อปรับปรุงการสอนและกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดความสำเร็จให้ได้[1] เป้าหมายของการประเมินความก้าวหน้าคือการเฝ้าสังเกตการเรียนรู้ของผู้เรียนเพื่อให้ผลตอบกลับที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถระบุจุดแข็งและจุดอ่อน และสิ่งที่ต้องปรับปรุงพัฒนา นอกจากนี้ยังช่วยให้ผู้สอนสามารถรับรู้เมื่อผู้เรียนเผชิญกับอุปสรรคและจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างทันท่วงที[2] การให้ผลตอบกลับของผู้สอนโดยทั่วไปของการประเมินความก้าวหน้าจะเน้นไปทางเชิงคุณภาพมากกว่าที่จะเป็นคะแนน [3] โดยการประเมินความก้าวหน้ามีความแตกต่างกับการประเมินรวบยอด ที่แสวงหาผลของการศึกษา[4]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ลิ่วคงสถาพร, วิโรจน์; สรุปราษฎร์, จุฑามาส. "ศัพท์ศึกษาศาสตร์ร่วมสมัย: การประเมินและวิจัย" (PDF). สสวท. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-11-09. สืบค้นเมื่อ 8 November 2020.
  2. Crooks, T. (2001). "The Validity of Formative Assessments". British Educational Research Association Annual Conference, University of Leeds, September 13–15, 2001. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-30. สืบค้นเมื่อ 2020-11-08. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  3. Huhta, Ari (2010). "Diagnostic and Formative Assessment". ใน Spolsky, Bernard; Hult, Francis M. (บ.ก.). The Handbook of Educational Linguistics. Oxford, UK: Blackwell. pp. 469–482.
  4. Shepard, Lorrie A. (2005). "Formative assessment: Caveat emptor" (PDF). ETS Invitational Conference The Future of Assessment: Shaping Teaching and Learning, New York, October 10–11, 2005. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 7 October 2011. สืบค้นเมื่อ 25 August 2011. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)