การทำลายล้างวัตถุระเบิด
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
การทำลายล้างวัตถุระเบิด (อังกฤษ: bomb disposal) เป็นวิชาชีพด้านวิศวกรรมวัตถุระเบิดโดยใช้กระบวนการที่ทำให้อุปกรณ์ระเบิดอันตรายมีความปลอดภัย การทำลายล้างวัตถุระเบิดเป็นคำที่ครอบคลุมทุกด้านเพื่ออธิบายแยก แต่การปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กันในด้านการทหารของหน่วยทำลายล้างวัตถุระเบิด (EOD) และการทำลายวัตถุระเบิดแสวงเครื่อง (IEDD) รวมถึงบทบาทความปลอดภัยสาธารณะของการทำลายล้างวัตถุระเบิดเพื่อความปลอดภัยสาธารณะ และหน่วยเก็บกู้ระเบิด
ประวัติ
[แก้]หน่วยเก็บกู้ระเบิดอาชีพฝ่ายพลเรือนแรกก่อตั้งขึ้นโดยวิเวียน เดอริง มาเจนดี[2] ในฐานะพันตรีแห่งกองทหารปืนใหญ่รักษาพระองค์ มาเจนดีได้ทำการตรวจสอบการระเบิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม ค.ศ. 1874 ในคลองรีเจนท์'ส คาแนล เมื่อเรือบาร์จ 'ทิลเบอรี' ได้บรรทุกปิโตรเลียมหกบาร์เรลและดินปืนห้าตันได้ระเบิดขึ้น โดยแรงระเบิดได้สังหารลูกเรือและทำลายสะพานแม็คเคิลฟิลด์ และที่คุมขังซึ่งอยู่ใกล้กับสวนสัตว์ลอนดอน
ในปี ค.ศ. 1875 เขาวางกรอบ 'พระราชบัญญัติวัตถุระเบิด' ซึ่งเป็นกฎหมายสมัยใหม่ฉบับแรกสำหรับการควบคุมวัตถุระเบิด[3] นอกจากนี้เขายังเป็นผู้บุกเบิกเทคนิคการทำลายล้างวัตถุระเบิดจำนวนมาก รวมถึงวิธีการระยะไกลสำหรับการจัดการและการรื้อถอนวัตถุระเบิด[2] คำแนะนำของเขาในระหว่างการทัพไดนาไมต์เฟเนียนในปี ค.ศ. 1881–85[4] ได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการว่ามีส่วนร่วมในการช่วยชีวิตได้หลายคน หลังจากที่สถานีวิกตอเรียถูกวางระเบิดเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1884 เขาได้ทำการปลดชนวนระเบิดด้วยระบบกลไกของนาฬิกาที่ซึ่งอาจจะมีการระเบิดขึ้นในทันใด[5]
กรมตำรวจนครนิวยอร์กได้จัดตั้งหน่วยเก็บกู้ระเบิดเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1903 รู้จักกันในฐานะ "อิตาเลียนสควอด" (Italian Squad) ภารกิจหลักคือการจัดการกับระเบิดไดนาไมต์ที่ใช้โดยมาเฟียเพื่อข่มขู่พ่อค้าและผู้อพยพชาวอิตาลี ซึ่งภายหลังจะเป็นที่รู้จักในฐานะ "แอนาคิสต์สควอด" (Anarchist Squad) และ "แรดิคอลสควอด" (Radical Squad)[6]
ดูเพิ่ม
[แก้]- แอดวานซ์บอมบ์สูท
- วิเวียน เดอริง มาเจนดี หนึ่งในผู้เชี่ยวชาญคนแรกเกี่ยวกับการทำลายล้างวัตถุระเบิด
- หน่วยระห่ำ ปลดล็อกระเบิดโลก ภาพยนตร์ ค.ศ. 2009 เกี่ยวกับผู้เชี่ยวชาญการทำลายล้างวัตถุระเบิดจากกองทัพสหรัฐในประเทศอิรัก กำกับโดยแคทริน บิเกโลว์ และได้รับรางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
อ้างอิง
[แก้]- หมายเหตุ
- ↑ Foster, Renita. "Unit kept one step ahead of enemy". Monmouth.army.mil. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-22. สืบค้นเมื่อ 2010-06-22.
- ↑ 2.0 2.1 Thomas G. Brodie (2005). Bombs and Bombings: A Handbook to Protection, Security, Disposal, and Investigation for Industry, Police and Fire Departments. Charles C Thomas Publisher. p. 102.
- ↑ 2 July 1895
- ↑ Armitage, Tom 'Bombing trains is nothing new - it is what 19th-century anarchists did' - The New Statesman 8 August 2005
- ↑ "Death Of A Distinguished Officer". 25 June 1898. p. 3 – โดยทาง Papers Past.
- ↑ Kareem Fahim (2010-05-02). "Bomb Squad Has Hard-Won Expertise". New York Times. สืบค้นเมื่อ 2010-05-21.
- บรรณานุกรม
- Major Saadat sherwani ATO, UXO! AN UNPERCEIVED THREAT (unpublished manuscript) c.2007.
- Jeffrey M. Leatherwood, Nine from Aberdeen: Colonel Thomas J. Kane and the Genesis of U.S. Army Bomb Disposal in World War II. [Master's Thesis] Western Carolina University. Department of History, c. 2004.
- Christopher Ransted, Bomb Disposal and the British Casualties of WW2, c. 2004.
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Styles, George (1975). Bombs Have No Pity: My War Against Terrorism. W Luscombe. ISBN 0-86002-133-5.
- Gurney, Peter (1994). Braver Men Walk Away. Ulverscroft. ISBN 0-7089-8762-1.
- Smith, Gary (1997). Demo Men. Pocket. ISBN 978-0-671-52053-3.
- Webster, Donovan (1996). Aftermath: The Remnants of War. Pantheon. ISBN 0-679-43195-0.
- Birchall, Peter (1998). The Longest Walk: The World of Bomb Disposal. Sterling Pub Co Inc. ISBN 1-85409-398-3.
- Tomajczyk, Stephen (1999). Bomb Squads. Motorbooks International. ISBN 0-7603-0560-9.
- Durham, J. Frank (2003). You Only Blow Yourself Up Once: Confessions of a World War II Bomb Disposaleer. iUniverse, Inc. ISBN 0-595-29543-6.
- Ryder, Chris (2005). A Special Kind of Courage: Bomb Disposal and the Inside Story of 321 EOD Squadron. Methuen Publishing Ltd. ISBN 0-413-77276-4.
- Bundy, Edwin A. (2006). Commonalities in an Uncommon Profession: Bomb Disposal (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2007-07-04.
- Esposito, Richard (2007). Bomb Squad: A Year Inside the Nation's Most Exclusive Police Unit. Hyperion. ISBN 1-4013-0152-5.
- Hunter, Chris (2007). Eight Lives Down. Bantam Press. ISBN 0-593-05860-7.
- Phillips, Stephen (2007). Proximity: A Novel of the Navy's Elite Bomb Squad. Xlibris. ISBN 978-1-4257-5172-2.
- Leatherwood, Jeffrey M. (2012). Nine From Aberdeen: U.S. Army Ordnance Bomb Disposal in World War II. Cambridge Scholars Publishing. ISBN 978-1-4438-3786-6.
- Wharton, Paul (2009). First Light: Bomb Disposal during the Ulster Campaign. Brisance Books. ISBN 978-0-9563529-0-3.
- Albright, Richard (2011) [2008]. Cleanup of Chemical and Explosive Ordnance. William Andrew & Elsevier. ISBN 978-0-8155-1540-1.
- Owen, James (2010). Danger UXB. Little, Brown. ISBN 978-1-4087-0255-0.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Bomb Squad (IED/EOD) Kosovo
- International Association of Bomb Technicians and Investigators
- Royal Engineers Remembered - 9th Bomb Disposal Company
- US Air Force EOD Fact Sheet เก็บถาวร 2017-02-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- US Army EOD เก็บถาวร 2020-10-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- US NAVY EOD
- Home of the United States Marine Corps Explosive Ordnance Disposal Program
- ROYAL AIR FORCE RAF Bomb Disposal History
- ROYAL AIR FORCE RAF Bomb Disposal Association Members
- Pigstick: Chemring EOD Ltd. Pigstick Disruptor by Chemring EOD, Poole, UK
- Pigstick: Mondial Defence Systems Ltd. Pigstick Disruptor / Disarmer; MAnufactured by Mondial Defence Systesm, Poole, UK
- SM-EOD from Saab
- Aerial photo Army School of Ammunition IEDD Felix Centre
- ภาพยนตร์สั้น Big Picture: Explosive Ordnance Disposal (E.O.D.) สามารถดาวน์โหลดได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายที่อินเทอร์เน็ตอาร์ไคฟ์
- Explosive Ordnance Disposal (EOD) Bureau - Hong Kong Police Force