ข้ามไปเนื้อหา

การตลาดแบบปากต่อปาก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การตลาดแบบปากต่อปาก หรือ การตลาดแบบบอกต่อ (อังกฤษ: viral marketing) คือเทคนิคทางการตลาดที่ใช้ในยุคก่อนที่จะมีบริการเครือข่ายสังคมเพื่อเพิ่มการรับรู้ในตราสินค้า หรือเพื่อจุดประสงค์อื่นทางการตลาด (เช่น ยอดขาย) ผ่านการพูดแบบปากต่อปาก ที่คล้ายกับการแพร่ของเชื้อไวรัสหรือไวรัสในคอมพิวเตอร์ อาจหมายถึงการพูดปากต่อปากผ่านทางอินเทอร์เน็ต[1] การประชาสัมพันธ์อาจทำได้ในรูปแบบของคลิป เกมในแบบแฟล็ช แอดเวอร์เกม อีบุ๊ก ซอฟต์แวร์เกี่ยวกับแบรนด์ ภาพ หรือแม้แต่ข้อความ

จุดประสงค์ของนักการตลาด เพื่อสร้างความสำเร็จการตลาดแบบปากต่อปาก เพื่อสร้างความโดดเด่นแสดงตัวตนกับแนวโน้มทางเครือข่ายสังคม (Social Networking Potential) และสร้างการแพร่กระจายของสาระให้ปรากฏกับคนส่วนหนึ่งของผู้คนและมีความเป็นไปได้สูงที่ที่จะแทนที่คู่แข่ง

อ้างอิง

[แก้]
  1. Howard, Theresa (2005-06-23). "USAToday: Viral advertising spreads through marketing plans". USA Today. สืบค้นเมื่อ 2010-05-27. June 23, 2005, 2005