การดูแลตนเอง
ในด้านบริการสุขภาพ การดูแลตนเองหมายถึง การทำหน้าที่กำกับของมนุษย์ที่จำเป็นซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของปัจเจกบุคคล ที่ไตร่ตรองไว้และริเริ่มด้วยตนเอง[1]
บางคนจัดการดูแลตนเองเป็นภาวะต่อเนื่องกับผู้ให้บริการด้านสุขภาพที่ปลายตรงข้ามของการดูแลตนเอง[2] ในแพทยศาสตร์สมัยใหม่ เวชศาสตร์ป้องกันปรับแนวใกล้ชิดกับการดูแลตนเอง การไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำทางการแพทย์และการเริ่มต้นโรคทางจิตทำให้การดูแลตนเองเป็นไปได้ยาก[3] มองว่าการดูแลตนเองเป็นทางแก้บางส่วนของปัญหารัฐบาลเสียค่าใช้จ่ายการบริบาลสุขภาพเพิ่มขึ้นทั่วโลก ความคิดการดูแลตนเองเป็นสาหลักของการบริบาลสุขภาพและสังคมหมายความว่ามันเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบบริการสุขภาพสมัยใหม่ที่มีระเบียบและบทกฎหมายควบคุม[4]
การดูแลตนเองถือเป็นรูปแบบปฐมภูมิของการบริบาลผู้ป่วยที่มีโรคเรื้อรังที่มีการตัดสินใจประจำวันหรือจัดการเองซึ่งความเจ็บป่วยของตน[5] การจัดการตนเองสำคัญและการศึกษาการจัดการตนเองส่งเสริมการศึกษาผู้ป่วยแบบเดิมในการบริบาลปฐมภูมิเพื่อสนับสนุนผู้ป่วยให้ดำรงชีพอยู่ด้วยคุณภาพชีวิตดีที่สุดกับภาวะเรื้อรังของตน[1][5] การดูแลตนเองมาจากการเรียนรู้ มีความมุ่งหมายและต่อเนื่อง[6]
ในปัจจุบัน กระแสการดูแตนเองเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย ในสังคมปัจจุบัน เนื่องจากด้วยสภาพแวดล้อมต่างๆในปัจจุบัน มีส่วนช่วยกระตุ้นให้ประชาชนทั่วโลก จำเป็นต้องหันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้น เช่น ปัญหาฝุ่นควัน pm.2.5 [7]
ปัญหาการแพร่ระบาดของไวรัส Covid 19[8] ทำให้กระแสการดูแลสุขภาพและตนเอง เป็นสิ่งที่ประชาชนทั่วโลกให้การสนใจกันอย่างมาก
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Alexander Segall and Jay Goldstein (1998). "Exploring the Correlates of Self Provided Health Care Behaviour". ใน Coburn, David; D'Arcy, Alex; Torrance, George Murray (บ.ก.). Health and Canadian Society: Sociological Perspectives. University of Toronto Press. pp. 279–280. ISBN 0802080529. สืบค้นเมื่อ 29 August 2013.
{{cite book}}
: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์) - ↑ Chambers, Ruth; Gill Wakley; Alison Blenkinsopp (2006). Supporting Self Care in Primary Care. Radcliffe Publishing. pp. 15, 101, 105. ISBN 1846190703. สืบค้นเมื่อ 29 August 2013.
- ↑ Mertig, Rita G. (2012). Nurses' Guide to Teaching Diabetes Self-management. Springer Publishing Company. p. 240. ISBN 0826108288. สืบค้นเมื่อ 30 August 2013.
- ↑ Kollack, Ingrid (2006). "The Concept of Self Care". ใน Kim,, Hesook Suzie; Kollak, Ingrid (บ.ก.). Nursing Theories: Conceptual and Philosophical Foundations. Springer Publishing Company. p. 45. ISBN 0826140068. สืบค้นเมื่อ 31 August 2013.
{{cite book}}
: CS1 maint: extra punctuation (ลิงก์) - ↑ 5.0 5.1 Bodenheimer, Thomas (2002-11-20). "PAtient self-management of chronic disease in primary care". JAMA. 288 (19): 2469–2475. doi:10.1001/jama.288.19.2469. ISSN 0098-7484.
- ↑ Taylor, Susan G.; Katherine Renpenning; Kathie McLaughlin Renpenning (2011). Self-care Science, Nursing Theory, and Evidence-based Practice. Springer Publishing Company. pp. 39–41. ISBN 0826107796. สืบค้นเมื่อ 25 August 2013.
- ↑ http://air4thai.pcd.go.th/webV2/
- ↑ "โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019". ddc.moph.go.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-01-24. สืบค้นเมื่อ 2021-01-21.