การก่อการกำเริบปราก
หน้าตา
การก่อการกำเริบปราก | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออกของสงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||
![]() ชาวปรากต่างพากันวางสิ่งกีดขวางในการก่อการกำเริบเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม โดยในพื้นหลังจะมีการทาสีทับป้ายที่มีตัวอักษรเป็นภาษาเยอรมัน | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
![]() |
![]() | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
![]() ![]() ![]() |
![]() ![]() | ||||||
กำลัง | |||||||
![]() |
![]() ![]() | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
![]() |
![]() ![]() ![]() | ||||||
พลเรือนถูกสังหาร 4,000 คน |
การก่อการกำเริบปราก (เช็ก: Pražské povstání) เป็นเหตุการณ์การก่อการจลาจลขึ้นในกรุงปรากในดินแดนโบฮีเมียและมอเรเวีย ซึ่งอยู่ภายใต้การยึดครองของนาซีเยอรมนี การจราจลปะทุขึ้นเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 ในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สองของทวีปยุโรป โดยเกิดขึ้นมาจากความพยายามของขบวการต่อต้านเช็กเพื่อปลดปล่อยกรุงปรากจากการยึดครองของเยอรมนี การจลาจลได้ดำเนินไปจนกระทั่งเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 ฝ่ายกองทัพเยอรมันและขบวนการต่อต้านได้ยุติการสู้รบกันซึ่งกองทัพเยอรมันได้ตัดสินใจที่จะถอนกำลังออกจากกรุงปรากในวันเดียวกัน และเมื่อเช้าวันรุ่งขึ้น กองทัพแดงได้เคลื่อนทัพเข้าสู่เมืองที่จวนจะได้รับการปลดปล่อย