ข้ามไปเนื้อหา

เขื่อนบางลาง

พิกัด: 6°9′23″N 101°16′25″E / 6.15639°N 101.27361°E / 6.15639; 101.27361
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขื่อนบางลาง
แม่น้ำปัตตานี มองทางเขื่อน
เขื่อนบางลางตั้งอยู่ในประเทศไทย
เขื่อนบางลาง
ที่ตั้งของเขื่อนในประเทศไทย
ประเทศประเทศไทย
ที่ตั้งอำเภอบันนังสตา, จังหวัดยะลา
พิกัดภูมิศาสตร์6°9′23″N 101°16′25″E / 6.15639°N 101.27361°E / 6.15639; 101.27361
วัตถุประสงค์หลายวัตถุประสงค์
สถานะดำเนินการ
เริ่มการก่อสร้างกรกฎาคม ค.ศ. 1976 (1976-July)[1]
วันที่เปิดดำเนินการ27 กันยายน ค.ศ. 1981 (1981-September-27)
มูลค่าการก่อสร้าง133.13 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[2]
เจ้าของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
เขื่อนและทางน้ำล้น
ชนิดของเขื่อนเขื่อนดินถม
ปิดกั้นแม่น้ำปัตตานี
ความสูง (ฐานราก)85 m (279 ft)
ความยาว430 m (1,410 ft)
ระดับความสูงที่สันเขื่อน120 m (390 ft)[2]
ความกว้าง (สันเขื่อน)10 m (33 ft)
อ่างเก็บน้ำ
อ่างเก็บน้ำอ่างเก็บน้ำบางลาง
ปริมาตรกักเก็บน้ำ1,420,000,000 m3 (5.0×1010 cu ft)
พื้นที่กักเก็บน้ำ2,080 km2 (800 sq mi)
ชนิดของเขื่อนF
โรงไฟฟ้า
ผู้ดำเนินการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
กังหันน้ำ3 x 24 เมกะวัตต์ กังหันฟรานซิส
กําลังการผลิตติดตั้ง72 เมกะวัตต์
กำลังผลิตรายปี200 กิโลวัตต์ชั่วโมง

เขื่อนบางลาง หรือ เขื่อนปัตตานี เป็นเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำหลายวัตถุประสงค์ในอำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา, ประเทศไทย[1] เป็นเขื่อนหลายวัตถุประสงค์แห่งแรกในภาคใต้ โดยกักเก็บน้ำจากแม่น้ำปัตตานี ทำให้เกิดอ่างเก็บน้ำบางลาง ตัวเขื่อนและโรงไฟฟ้าถูกพัฒนาเป็นส่วนหนึ่งของปัตตานีโปรเจกต์[2]

รายละเอียด[แก้]

เขื่อนบางลางเป็นเขื่อนหินถมที่ยาว 430 เมตร และสูง 85 เมตร อ่างเก็บน้ำมีความจุสูงสุดอยู่ที่ 1,420,000,000 ลูกบาศก์เมตร ในพื้นที่กักเก็บน้ำ 2,080 ตารางกิโลเมตร[1]

ตัวเขื่อนมีวัตถุประสงค์หลายประการ เช่น ผลิตไฟฟ้า, ชลประทาน, ป้องกันน้ำท่วม, การประมง และกิจกรรมนันทนาการ[2]

โรงไฟฟ้า[แก้]

ตัวโรงไฟฟ้ามีหน่วยพลังน้ำกังหันฟรานซิส 3 อัน แต่ละอันมีความจุ 24 เมกะวัตต์[3] ส่วนโครงการไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็กในบริเวณใกล้เคียงที่บ้านสันติมีความจุ 1.275 เมกะวัตต์ และเป็นส่วนหนึ่งของปัตตานีโปรเจกต์ รวมพลังงานทั้งปีได้ 200 กิโลวัตต์ชั่วโมง[2]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 "Bang Lang Dam". Electrictity Generating Authority of Thailand (EGAT). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-12-01. สืบค้นเมื่อ 28 June 2020.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 Martin Wieland; Qingwen Ren; John S. Y. Tan (23 November 2004). New Developments in Dam Engineering: Proceedings of the 4th International Conference on Dam Engineering, 18-20 October, Nanjing, China. CRC Press. pp. 180–181. ISBN 978-0-203-02067-8. สืบค้นเมื่อ 2 July 2014.
  3. "Electro-Mechanical Works – Guidelines for selection of Turbine and Governing System for SHP" (PDF). Standards/Manuals/ Guidelines for Small Hydro Development. Alternate Hydro Energy Center Indian Institute of Technology Roorkee. p. 70. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-10-31. สืบค้นเมื่อ 3 July 2014.