ข้ามไปเนื้อหา

หิงคลาชมาตามนเทียร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Shri Hinglaj Mata temple)
หิงคชาชมาตา
ہنگلاج ماتا
องค์หิงคลาชมาตา
ศาสนา
ศาสนาศาสนาฮินดู
เขตอำเภอลัสเบลา
เทพหิงคลาชมาตา (เป็นปางหนึ่งของอาทิปรศากติ)
เทศกาลตีรถยาตราเวลาสี่วันในเดือนเมษายน, นวราตรี
ที่ตั้ง
ที่ตั้งหิงคลาช
รัฐแคว้นบาโลชิสถาน
ประเทศปากีสถาน
หิงคลาชมาตามนเทียรตั้งอยู่ในแคว้นบาโลชิสถาน ประเทศปากีสถาน
หิงคลาชมาตามนเทียร
ที่ตั้งในแคว้นบาโลชิสถาน ประเทศปากีสถาน
หิงคลาชมาตามนเทียรตั้งอยู่ในประเทศปากีสถาน
หิงคลาชมาตามนเทียร
หิงคลาชมาตามนเทียร (ประเทศปากีสถาน)
พิกัดภูมิศาสตร์25.0°30′50″N 65.0°30′55″E / 25.51389°N 65.51528°E / 25.51389; 65.51528
เว็บไซต์
www.hinglajmata.com

หิงคลาชมาตา (บาโลจ: هنگلاج ماتا, อูรดู: ہنگلاج ماتا; Hinglaj Mata) หรือ หิงคลาชเทวี, หิงคูลามาตา และ นานีมนเทียร เป็นมนเทียรในเมืองหิงคลาชบนริมฝั่งมากรันในอำเภอลัสเบลา แคว้นบาโลชิสถาน ตั้งอยู่ในอุทยานแห่งชาติหิงคุล ที่นี่เป็นหนึ่งใน 51 ศักติปีฐตามความเชื่อของลัทธิศักติ[1] และเป็นหนึ่งในสามศักติปีฐที่ตั้งอยู่ในประเทศปากีสถาน อีกสองที่คือศิวหรการัย และ ศารทาปีฐ[2] หิงคลาชมาตาเชื่อกันว่าเป็นปางหนึ่งของพระแม่ทุรคา ในถ้ำขนาดใหญ่ในภูเขาริมฝั่งแม่น้ำหิงคุล[3] ในช่างสามทศวรรษที่ผ่านมา ที่นี่กลายเป็นศูนย์รวมหนึ่งของชุมชนชาวฮินดูในปากีสถาน[4] และยังเป็นแหล่งจาริกแสวงบุญของฮินดูที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศปากีสถาน มีผู้เข้าร่วมพิธีมิงคลาชยาตรามากกว่า 250,000 คน[5]

อ้างอิง[แก้]

  1. Raja 2000, p. 186.
  2. Kunal Chakrabarti; Shubhra Chakrabarti (2013). Historical Dictionary of the Bengalis. Scarecrow. p. 430. ISBN 978-0-8108-8024-5.
  3. Dalal 2011, pp. 158–59.
  4. Schaflechner, Jürgen (2018). Hinglaj Devi : identity, change, and solidification at a Hindu temple in Pakistan. New York, NY: Oxford University Press. ISBN 9780190850555. OCLC 1008771979.
  5. "Mata Hinglaj Yatra: To Hingol, a pilgrimage to reincarnation". City: Karachi. The Express Tribune. TNN. 2 August 2017. สืบค้นเมื่อ 22 February 2020.

บรรณานุกรม[แก้]