ไข้ดำแดง
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก Scarlet fever)
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ไข้ดำแดง | |
---|---|
ชื่ออื่น | scarlet fever, scarlatina,[1] scarletina[2] |
Strawberry tongue seen in scarlet fever | |
สาขาวิชา | Infectious disease |
อาการ | Sore throat, fever, headaches, swollen lymph nodes, characteristic rash[1] |
ภาวะแทรกซ้อน | Glomerulonephritis, rheumatic heart disease, arthritis[1] |
การตั้งต้น | 5–15 years old[1] |
สาเหตุ | Strep throat, streptococcal skin infections[1] |
วิธีวินิจฉัย | Throat culture[1] |
การป้องกัน | Handwashing, not sharing personal items, staying away from sick people[1] |
การรักษา | Antibiotics[1] |
พยากรณ์โรค | Typically good[3] |
ไข้ดำแดง หรือ ไข้อีดำอีแดง เป็นโรคติดเชื้อที่เกิดจากการติดเชื้อสเตร็ปโตคอคคัสชนิดเอ[1] ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บคอ มีไข้ ปวดศีรษะ ต่อมน้ำเหลืองโต และมีผื่นซึ่งมีลักษณะเฉพาะ[1] คือเป็นผื่นแดงนูนให้สัมผัสคล้ายกระดาษทราย ลิ้นอาจเปลี่ยนเป็นสีแดงและตะปุ่มตะป่ำคล้ายผลสตรอว์เบอร์รี่[1] ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเด็กอายุ 5-15 ปี[1]
ผู้ป่วยโรคคออักเสบจากเชื้อสเตร็ปหรือติดเชื้อสเตร็ปที่ผิวหนังจำนวนหนึ่งจะเกิดโรคนี้ตามมาในภายหลัง[1] เชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุสามารถติดต่อกันได้ผ่านการไอหรือจาม[1] นอกจากนี้ยังสามารถติดผ่านการสัมผัสพื้นผิวหรือวัตถุที่ผู้ป่วยสัมผัสได้หากสัมผัสแล้วเอามือมาโดนจมูกหรือปาก[1] ผื่นที่พบในผู้ป่วยโรคนี้เกิดจากสารพิษอีริโธรเจนิกที่ถูกสร้างขึ้นมาจากแบคทีเรียนี้[1][4] การวินิจฉัยส่วนใหญ่ทำโดยดูจากผลเพาะเชื้อที่ป้ายจากคอของผู้ป่วย[1]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 1.11 1.12 1.13 1.14 1.15 1.16 "Scarlet Fever: A Group A Streptococcal Infection". Center for Disease Control and Prevention. January 19, 2016. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 March 2016. สืบค้นเมื่อ 12 March 2016.
- ↑ Shorter Oxford English dictionary. United Kingdom: Oxford University Press. 2007. p. 3804. ISBN 978-0199206872.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อQuin1989
- ↑ Ralph, AP; Carapetis, JR (2013). Group a streptococcal diseases and their global burden. Current Topics in Microbiology and Immunology. Vol. 368. pp. 1–27. doi:10.1007/82_2012_280. ISBN 978-3-642-36339-9. PMID 23242849.