ซาลิมา สุลต่าน บีกัม
ซาลิมา สุลต่าน บีกัม Salima Sultan Begum | |
---|---|
Shahzadi of the Mughal Empire | |
ซาลิมา บีกัม กับ อับดุล ราฮิม ถูกพาไป อะห์มดาบาด หลังจากไบราม ข่านถูกลอบปลงพระชนม์ในปี 1561 | |
ประสูติ | 23 กุมภาพันธ์ 1539 |
สวรรคต | 2 มกราคม ค.ศ. 1613 อัคระ, อินเดีย | (73 ปี)
ฝังพระศพ | Mandarkar Garden, Agra |
คู่อภิเษก | ไบราม ข่าน (m. 1557–1561) มหาราชอัคบาร์ (m. 1561–1605 ใน ชลันธระ)[1] |
ราชวงศ์ | ติมูร์อิด (by birth) |
พระราชบิดา | นุรุดดิน มูฮัมเหม็ด เมอร์ซา |
พระราชมารดา | กัลรุกห์ บีกัม |
ศาสนา | อิสลาม |
ซาลิมา สุลต่าน บีกัม (อูรดู: سلیمہ سلطان بیگم; อังกฤษ: Salima Sultan Begum กุมภาพันธ์ 1539 – 2 มกราคม 1613)[2] เป็นพระมเหสีองค์ที่ 4 ของ มหาราชอัคบาร์[3], และเป็นหลานสาวของ บาบูร์
พระนางเป็นพระราชธิดาของ กัลรุกห์ บีกัม พระมาตุจฉาของมหาราชอัคบาร์ กับนุรุดดิน มูฮัมเหม็ด เมอร์ซา ในตอนแรกเธอเป็น คู่หมั้น กับ ไบราม ข่าน ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ของอัคบาร์ โดยลุงของเธอ ฮูมายุน เป็นผู้หมั้นหมาย เจ้าสาวน่าจะเป็นรางวัลที่เลอค่าของไบราม คู่สามีภรรยาผู้มีอายุต่างกันมากกว่าสี่สิบปี แต่งงานกันในปี 1557 หลังจากอัคบาร์ได้ขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิโมกุลองค์ที่สามต่อจากสมเด็จพระราชบิดา แต่ถึงกระนั้นพระองค์ก็ยังไม่มีพระราชบุตร เหตุเพราะหลังจากนั้นเพียงสามปี ไบราม ข่านก็ถูกกลุ่มชาวอัฟกันลอบสังหารในปี 1561 หลังจากเสียชีวิต ซาลิมาก็ได้สยุมพรกับมหาราชอัคบาร์ ลูกพี่ลูกน้องของพระองค์
ในวัฒนธรรมสมัยนิยม
[แก้]- ซาลิมา สุลต่าน บีกัมเป็นตัวละครในนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ที่ได้รับรางวัลของ Indu Sundaresan The Twentieth Wife (2002).[4]
- ซาลิมา สุลต่าน บีกัม รับบทโดย Manisha Yadav ในละครเรื่อง Jodha Akbar.[5][6]
- Riya Deepsi รับบทเป็นซาลิมา สุลต่าน บีกัม ในละครเรื่อง Bharat Ka Veer Putra – Maharana Pratap.[7]
- Dilnaz Irani รับบทเป็นซาลิมา สุลต่าน บีกัม ในภาพยนตร์เรื่อง Jodhaa Akbar กำกับภาพยนตร์โดย Ashutosh Gowariker
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Gulbadan, p. 57
- ↑ Jahangir (1968). The Tūzuk-i-Jahāngīrī or Memoirs of Jāhāngīr. Munshiram Manoharlal. p. 232.
- ↑ Burke, S. M. (1989). Akbar: The Greatest Mogul (ภาษาอังกฤษ). Munshiram Manoharlal Publishers. p. 143.
- ↑ Sundaresan, Indu (2002). Twentieth wife : a novel (Paperback ed.). New York: Washington Square Press. ISBN 978-0743428187.
- ↑ Talreja, Vinod (19 June 2014). "Jodha Akbar: Rajat Tokas earns the title of Akbar!". Bollywoodlife.com. สืบค้นเมื่อ 19 February 2017.
- ↑ "In pics: Meet Manisha Yadav aka Salima Begum of Jodha Akbar in real life". Dailybhaskar.com. 12 May 2014. สืบค้นเมื่อ 19 February 2017.
- ↑ IANS (2 February 2015). "Riya Deepsi to enter 'Bharat Ka Veer Putra – Maharana Pratap' – Times of India". The Times of India. สืบค้นเมื่อ 19 February 2017.
แหล่งอ้างอิง
[แก้]- Begum, Gulbadan (1902). The History of Humayun (Humayun-Nama). Royal Asiatic Society. ISBN 8187570997.
- Findly, Ellison Banks (1993). Nur Jahan: Empress of Mughal India. Oxford University Press. ISBN 9780195360608.