ราชปูตานา
ราชปูตานา (อักษรเทวนาครี: राजपूताना, อักษรโรมัน: Rajputana) แปลว่า ดินแดนของราชปุต[1] เป็นอดีตภูมิภาคของอนุทวีปอินเดียที่กินพื้นที่ของรัฐราขสถานในประเทศอินเดียเป็นหลัก และบางส่วนของรัฐมัธยประเทศ, รัฐคุชราต[1] จนถึงแคว้นสินธ์ตอนใต้ในประเทศปากีสถาน[2]
ปรากฏคำเรียกนี้ตั้งแต่ช่วงต้นยุคกลาง[3] และต่อมาบริษัทอินเดียตะวันออกได้นำมาใช้เรียกรัฐผู้แทนราชปูตานา[4] ซึ่งประกอบด้วยรัฐมหาราชาต่าง ๆ ชื่อนี้ใช้เรื่อยมาจนถูกแทนที่ด้วยชื่อ "ราชสถาน" ในรัฐธรรมนูญปี 1949[4]
จอร์จ ทอมัส (ในหนังสือ Military Memories) เป็นคนแรกที่ในปี 1800 เรียกพื้นที่นี้อย่างเป็นทางการในภาษาอังกฤษว่า Rajputana Agency[5] ในอดีตก่อนชื่อนี้ พื้นที่นี้มีชื่อเรียกว่า คุชราตระ (ต่อมาเป็นชื่อ "คุชราต") และกลายมาเป็น ราชปูตานาในสมัยยุคกลางตอนต้น โดยที่คำว่าคุชราตระมีที่มาจากจักรวรรดิคุรชร-ประติหาร[6][7]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "Rajputana". Encyclopædia Britannica.
- ↑ "Rajput". Encyclopædia Britannica.
- ↑ Bose, Manilal (1998). Social Cultural History of Ancient India. Concept Publishing Company. p. 27. ISBN 978-81-702-2598-0.
- ↑ 4.0 4.1 R.K. Gupta; S.R. Bakshi (1 January 2008). Studies In Indian History: Rajasthan Through The Ages The Heritage Of Rajputana (Set Of 5 Vols.). Sarup & Sons. pp. 143–. ISBN 978-81-7625-841-8. สืบค้นเมื่อ 30 October 2012.
- ↑ F. K. Kapil (1999). Rajputana states, 1817-1950. Book Treasure. p. 1. สืบค้นเมื่อ 24 June 2011.
- ↑ John Keay (2001). India: a history. Grove Press. pp. 231–232. ISBN 0-8021-3797-0.
Colonel James Tod, who as the first British official to visit Rajasthan spent most of the 1820s exploring its political potential, formed a very different idea of "Rashboots".....and the whole region thenceforth became, for the British, 'Rajputana'. Historian R. C. Majumdar explained that the region was long known as Gurjaratra early form of Gujarat, before it came to be called Rajputana, early in the Muslim period.
- ↑ R.C. Majumdar (1994). Ancient India. Motilal Banarsidass. p. 263. ISBN 8120804368.