ปาร์กอแล็งปิกลียอแน
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก Parc Olympique Lyonnais)
ที่ตั้ง | 10, อาฟว์นูว์ซีมอนแวย์ 69150 เดซีน-ชาร์ปีเยอ ประเทศฝรั่งเศส |
---|---|
พิกัด | 45°45′55″N 4°58′55″E / 45.76528°N 4.98194°E |
เจ้าของ | ออแล็งปิกลียอแนกรุป |
ผู้ดำเนินการ | ออแล็งปิกลียอแนกรุป |
ที่นั่งพิเศษ | 105 |
ความจุ | 59,186 คน[3] |
สถิติผู้ชม | 56,661 คน (ลียง พบ ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง, 28 กุมภาพันธ์ 2559) |
ขนาดสนาม | 105 × 68 เมตร (344 × 223 ฟุต) |
พื้นผิว | แอร์ไฟเบอร์ไฮบริดกราส [1] |
การก่อสร้าง | |
ลงเสาเข็ม | 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 |
เปิดใช้สนาม | 9 มกราคม พ.ศ. 2559 |
งบประมาณในการก่อสร้าง | 415 ล้านยูโร |
สถาปนิก | พอพิวลัส[2] |
วิศวกรโครงสร้าง | แว็งซี |
วิศวกรบริการ | แว็งซี |
ผู้รับเหมาทั่วไป | แว็งซี |
การใช้งาน | |
ออแล็งปิกลียอแน (2559–ปัจจุบัน) ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์โลก 2019 |
ปาร์กอแล็งปิกลียอแน (ฝรั่งเศส: Parc Olympique Lyonnais)[4] หรือชื่ออย่างไม่เป็นทางการ กร็องสตาด และ สตาดเดลูเมียร์ เป็นสนามฟุตบอลของออแล็งปิกลียอแน มีความจุ 59,186 ที่นั่ง ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเดซีน-ชาร์ปีเยอ ใกล้กับลียง โดยใช้งานแทนที่สตาดเดอแฌร์ล็องซึ่งเป็นสนามเก่า ตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2559
สนามนี้มีแผนที่จะใช้งานในการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 และฟุตบอลหญิงชิงแชมป์โลก 2019
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Natural Grass SAS". Natural Grass SAS. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 12 January 2016.
- ↑ "Grand Stade de Lyon". Populous. สืบค้นเมื่อ 12 January 2016.
- ↑ "Ligue 1 club: Olympique Lyonnais". Ligue de Football Professionnel. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-18. สืบค้นเมื่อ 12 January 2016.
- ↑ http://www.olweb.fr/fr/club/grand-stade-167.html