องค์การว่าด้วยความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก Organization for Security and Co-operation in Europe)
องค์การว่าด้วยความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป Organization for Security and Co-operation in Europe | |
---|---|
กองเลขาธิการ | เวียนนา, ออสเตรีย |
ภาษาราชการ | อังกฤษ, ฝรั่งเศส, เยอรมัน, อิตาลี, รัสเซีย, สเปน |
ประเภท | องค์การระหว่างรัฐบาล ที่ไม่มีสถานภาพทางกฎหมาย |
สมาชิก | 57 ประเทศเข้าร่วม มีผู้ร่วมมือ 11 ประเทศ |
ผู้นำ | |
Edi Rama | |
Ingibjörg Sólrún Gísladóttir | |
Harlem Désir | |
Lamberto Zannier | |
Thomas Greminger | |
ก่อตั้ง | |
• ในฐานะการประชุมด้านความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป ปี ค.ศ. 1975 | กรกฎาคม 1973 |
30 กรกฎาคม – 1 สิงหาคม 1975 | |
21 พฤศจิกายน 1990 | |
• เปลี่ยนชื่อเป็น OSCE | 1 มกราคม 1995 |
พื้นที่ | |
• รวม | 50,119,801 ตารางกิโลเมตร (19,351,363 ตารางไมล์) |
ประชากร | |
• 2018 ประมาณ | 1,276,751,497[1] (3rd) |
25 ต่อตารางกิโลเมตร (64.7 ต่อตารางไมล์) | |
จีดีพี (ราคาตลาด) | 2018 (ประมาณ) |
• รวม | 45 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ[2] |
• ต่อหัว | 35,000 ดอลลาร์สหรัฐ |
เว็บไซต์ www |
องค์การว่าด้วยความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป (อังกฤษ: Organization for Security and Co-operation in Europe (OSCE)) เป็นองค์การระหว่างรัฐบาลด้านความมั่นคงที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีข้อบัญญัติทางด้านการควบคุมอาวุธ การประชาสัมพันธ์สิทธิมนุษยชน เสรีภาพสื่อ และการส่งเสริมการเลือกตั้ง มีลูกจ้างราว 3,460 คน โดยมากอยู่ฝ่ายดำเนินงาน แต่ยังมีกองเลขาธิการตั้งอยู่ที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย องค์การถือกำเนิดเมื่อครั้งการประชุมด้านความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป ปี ค.ศ. 1975 จัดขึ้นที่เฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Archived copy". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 July 2017. สืบค้นเมื่อ 3 December 2017.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์) - ↑ "OSCE - Organization for Security and Co-operation in Europe 2018". Countryeconomy.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 July 2017. สืบค้นเมื่อ 30 December 2017.