ข้ามไปเนื้อหา

นีอาเม

พิกัด: 13°30′42″N 2°7′31″E / 13.51167°N 2.12528°E / 13.51167; 2.12528
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Niamey)
นีอาเม

Ɲamay (Zarma)
Yamai (เฮาซา)
ⵏⵉⴰⵎⵢ (Tawallammat Tamajaq)
นีอาเมมองจากมัสยิดใหญ่, Trois Sœurs, Place du Temple, Zoo du Musée national de Niamey, สนามกีฬา Kountché, เนินทราย
นีอาเมตั้งอยู่ในประเทศไนเจอร์
นีอาเม
นีอาเม
นีอาเมตั้งอยู่ในแอฟริกา
นีอาเม
นีอาเม
นีอาเม (แอฟริกา)
พิกัด: 13°30′42″N 2°7′31″E / 13.51167°N 2.12528°E / 13.51167; 2.12528
ประเทศ ไนเจอร์
ภูมิภาคNiamey Urban Community
Communes Urbaines5 คอมมูน
อำเภอ44 อำเภอ
Quartiers99 Quarters
การปกครอง
 • ประเภทAppointed district government, elected city council, elected commune and quarter councils[2]
 • นายกเทศมนตรีAssane Seydou Sanda[2]
พื้นที่
 • ทั้งหมด239.30 ตร.กม. (92.39 ตร.ไมล์)
ความสูง207 เมตร (679 ฟุต)
ประชากร
 (2012)
 • ทั้งหมด1,026,848[1] คน
 • ประมาณ 
(1 ตุลาคม ค.ศ. 2020)
1,334,984[3] คน
 Niamey Urban Community
เขตเวลาUTC+1 (เวลาแอฟริกาตะวันตก)
รหัสพื้นที่20

นีอาเม (ฝรั่งเศส: Niamey) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไนเจอร์ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำไนเจอร์ โดยเมืองส่วนใหญ่ตั้งอยู่ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำ เป็นเมืองศูนย์กลางการปกครอง วัฒนธรรม เศรษฐกิจ มีประชากร 1,026,848 คน ตามสำมะโน ค.ศ. 2012 ใน ค.ศ. 2017 ตัวประมาณการประชากรแสดงอำเภอเมืองหลวงว่ามีอัตราการเกิดน้อยกว่าทั้งประเทศ ซึ่งมีอัตราการเจริญพันธุ์ที่สูงที่สุดในโลก[4]

ภูมิอากาศ

[แก้]
ข้อมูลภูมิอากาศของนีอาเม ประเทศไนเจอร์ (ค.ศ. 1961–1990, สูงสุด: ค.ศ. 1961–2015)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 38.2
(100.8)
44.0
(111.2)
45.0
(113)
45.6
(114.1)
45.1
(113.2)
43.5
(110.3)
41.0
(105.8)
39.6
(103.3)
41.8
(107.2)
41.2
(106.2)
40.7
(105.3)
40.0
(104)
45.6
(114.1)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 32.5
(90.5)
35.7
(96.3)
39.1
(102.4)
40.9
(105.6)
40.2
(104.4)
37.2
(99)
34.0
(93.2)
33.0
(91.4)
34.4
(93.9)
37.8
(100)
36.2
(97.2)
33.3
(91.9)
36.2
(97.2)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 24.3
(75.7)
27.3
(81.1)
30.9
(87.6)
33.8
(92.8)
34.0
(93.2)
31.5
(88.7)
29.0
(84.2)
27.9
(82.2)
29.0
(84.2)
30.8
(87.4)
27.9
(82.2)
25.0
(77)
29.3
(84.7)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 16.1
(61)
19.0
(66.2)
22.9
(73.2)
26.5
(79.7)
27.7
(81.9)
25.7
(78.3)
24.1
(75.4)
23.2
(73.8)
23.6
(74.5)
24.2
(75.6)
19.5
(67.1)
16.7
(62.1)
22.4
(72.3)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 12.6
(54.7)
14.3
(57.7)
18.0
(64.4)
21.6
(70.9)
22.6
(72.7)
20.5
(68.9)
20.0
(68)
20.2
(68.4)
20.3
(68.5)
15.8
(60.4)
13.0
(55.4)
12.6
(54.7)
12.6
(54.7)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 0.0
(0)
0.0
(0)
3.9
(0.154)
5.7
(0.224)
34.7
(1.366)
68.8
(2.709)
154.3
(6.075)
170.8
(6.724)
92.2
(3.63)
9.7
(0.382)
0.7
(0.028)
0.0
(0)
540.8
(21.291)
ความชื้นร้อยละ 22 17 18 27 42 55 67 74 73 53 34 27 42.4
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย (≥ 1.0 mm) 0.0 0.0 0.2 0.8 2.9 5.9 9.9 12.2 7.4 1.6 0.1 0.0 41
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 280 264 264 251 257 251 238 203 228 285 285 276 3,082
แหล่งที่มา 1: Deutscher Wetterdienst[5]
แหล่งที่มา 2: Danish Meteorological Institute[6]

ประชากร

[แก้]
นีอาเมมองจากดาวเทียมสป็อต
ประวัติจำนวนประชากร
ปีประชากร±%
1901600—    
19303,000+400.0%
195024,370+712.3%
196057,548+136.1%
1970129,209+124.5%
1977242,973+88.0%
1988397,437+63.6%
2001725,030+82.4%
20121,026,848+41.6%
20201,324,700+29.0%
ที่มา: [7][8]

ประชากรในนีอาเมเพิ่มขึ้นอย่างมากนับตั้งแต่เป็นเอกราช ภัยแล้งในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 ถึงคริสต์ทศวรรษ 1980 กับวิกฤตเศรษฐกิจในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 ทำให้เกิดการอพยพครั้งใหญ่จากชนบทไปยังเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไนเจอร์[9] ซึ่งทำให้ประชากรในเมืองเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง จากประมาณ 3,000 คนใน ค.ศ. 1930 ถึงประมาณ 30,000 คนใน ค.ศ. 1960 แล้วเพิ่มขึ้นถึง 250,000 คนใน ค.ศ. 1980 และ 800,000 คนจากสถิติทางการใน ค.ศ. 2000[10] ต่อมาในสมัยรัฐบาลทหารของนายพล Seyni Kountché ได้มีการควบคุมประชากรอย่างเข้มงวด และรัฐบาลมักจะไล่ต้อนและ "ส่งกลับ" ใครก็ตามที่ไม่ได้รับอนุญาตให้กลับไปที่หมู่บ้านของตน[11]

ในคริสต์ทศวรรษ 1990 อัตราการเติบโตของประชากรในเขตเมืองหลวงลดลงต่ำกว่าอัตราของทั้งประเทศ ทำให้มีข้อเสนอแนะว่านำ การอพยพจากชนบทขนาดใหญ่ (นคราภิวัตน์) มีน้อยมากในไนเจอร์ และ/หรือการเนรเทศจากเมืองไปชนบทของรัฐบาลได้ผล[11]

อ้างอิง

[แก้]
  1. National Statistics Institute of Niger. "Structure of the Population RGPH 2012" (PDF). สืบค้นเมื่อ December 31, 2020.
  2. 2.0 2.1 Assane Seydou Sanda-elu-maire-de-la-ville-de-niamey&catid=34:actualites&Itemid=53 Installation du Conseil de ville de Niamey et élection des membres : M. Assane Seydou Sanda, élu maire de la ville de Niamey. Laouali Souleymane, Le Sahel (Niamey). 1 July 2011
  3. National Statistics Institute of Niger. "Demographic Projections for Niger 2012-2024". สืบค้นเมื่อ December 31, 2020.
  4. "Niger: Regions, Departments, Communes, Cities, Localities and Municipal Arrondissements - Population Statistics in Maps and Charts". citypopulation.de.
  5. "Klimatafel von Niamey (Aéro) / Niger" (PDF). Federal Ministry of Transport and Digital Infrastructure. สืบค้นเมื่อ 14 June 2016.
  6. "Stationsnummer 61052" (PDF). Ministry of Energy, Utilities and Climate. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 January 2013. สืบค้นเมื่อ 14 June 2016.{{cite web}}: CS1 maint: unfit URL (ลิงก์)
  7. "Niger: Regions, Cities & Urban Centers - Population Statistics, Maps, Charts, Weather and Web Information". www.citypopulation.de. สืบค้นเมื่อ 2020-10-24.
  8. "Niamey Population 2020 (Demographics, Maps, Graphs)". worldpopulationreview.com. สืบค้นเมื่อ 2020-10-24.
  9. According to Statsoid เก็บถาวร 2009-07-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน: "~1992: Tillabéry Region split from Niamey (whose FIPS code was NG05 before the change). Status of Niamey changed from Region to capital district."
  10. "Monitoring of Urban Growth and its Related Environmental Impacts: Niamey Case Study (Niger)". Energy Procedia (ภาษาอังกฤษ). 97: 37–43. 2016-11-01. doi:10.1016/j.egypro.2016.10.014. ISSN 1876-6102.
  11. 11.0 11.1 Patrick Gilliard, and Laurent Pédenon "Rues de Niamey, espace et territoires de la mendicité เก็บถาวร 2018-09-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน" Politique africaine, Paris (October 1996) no.63 pp. 51–60.

บรรณานุกรม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]