มีร์ โอสมาน อะลี ข่าน
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก Mir Osman Ali Khan)
มีร์โอสมาน อะลี ข่าน | |
---|---|
นิซามแห่งรัฐไฮเดอราบาด | |
ภาพถ่ายมีร์เมื่อปี 1926 | |
นิซามที่เจ็ดแห่งรัฐไฮเดอราบาด | |
ครองราชย์ | 29 สิงหาคม 1911 – 17 กันยายน 1948 ในนาม: 17 กันยายน 1948 – 24 กุมภาพันธ์ 1967[1] |
ราชาภิเษก | 18 กันยายน 1911[2] |
ก่อนหน้า | มะห์บับ อะลี ข่าน อะซัฟญาห์ที่หก |
ถัดไป | บัรกัต อะลี ข่าน อะซัฟญาห์ที่แปด (ในนาม) |
นายกรัฐมนตรีรัฐไฮเดอราบาด | |
ประสูติ | 5 เมษายน ค.ศ. 1886[3] or 6 เมษายน ค.ศ. 1886 ปุราณีหเวลี ไฮเดอราบาด รัฐไฮเดอราบาด จักรวรรดิอินเดียของอังกฤษ (now in Telangana, India) |
สวรรคต | 24 กุมภาพันธ์ 1967 (age 80) วังคิงโกถี ไฮเดอราบาด รัฐอานธรประเทศ สาธารณรัฐอินเดีย |
ฝังพระศพ | มัสยิดจูดี ไฮเดอราบาด ประเทศอินเดีย |
คู่อภิเษก | ดุลหัน ปาชา เบกุม, ฯลฯ |
ภาษาอูรดู | نواب میر عثمان علی خان |
ราชสกุล | จักรวรรดิอะซัฟ ฌาฮี |
พระราชบิดา | มะห์บับ อะลี ข่าน อะซัฟญาห์ที่หก |
ศาสนา | อิสลามสุหนี่ |
มีร์ โอสมาน อะลี ข่าน อะซัฟฌาห์ที่เจ็ด (อักษรโรมัน: Osman Ali Khan, Asaf Jah VII GCSI GBE (5[3] หรือ 6 เมษายน 1886 – 24 กุมภาพันธ์ 1967)[4] เป็นนิซาม[5] สุดท้ายของรัฐมหาราชาไฮเดอราบาด ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่ 29 สิงหาคม 1911 ด้วยวัย 25 ปี[6] จนถึงปี 1948 ที่ซึ่งรัฐถูกผนวกเข้ากับอินเดีย[7] ภายหลังรัฐมหาราชาถูกผนวกเข้ากับอินเดีย มีร์ได้รับยศใหม่เป็น His Exalted Highness-(H.E.H.) นิซามแห่งไฮเดอราบาด[8]
มีร์ได้รับการยกย่องเป็น "ผู้ออกแบบไฮเดอราบาดยุคใหม่" ในฐานะผู้ก่อตั้งหน่วยงานสาธารณะจำนวนมากในรัฐ เช่นมหาวิทยาลัยโอสมานยา, โรงพยาบาลกลางโอสมานยา, ธนาคารรัฐไฮเดอราบาด, สนามบินเบกุมเปต, ศาลสูงไฮเดอราบาด, อ่างเก็บน้ำสองแห่ง คือ โอสมานสาคร กับ หิมยัตสาคร ภายหลังเกิดอุทกภัยใหญ่ในปี 1908[9]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Ali, Mir Quadir (17 September 2019). "Hyderabad's tryst with history". Deccan Chronicle. สืบค้นเมื่อ 18 November 2020.
The question now is: What exactly happened on September 17, 1948? [...] The Nizam's radio broadcast meant the lifting of the house arrest of Government of India's Agent General K.M. Munshi, allowing him to work on a new government, with the Nizam as Head of State.
- ↑ Benjamin B. Cohen, Kingship and Colonialism in India's Deccan, 1850–1948 (Macmillan, 2007) p81[ต้องการคำอ้างอิงเพื่อยืนยัน]
- ↑ 3.0 3.1 Jaganath, Santosh (2013). The History of Nizam's Railways System. Laxmi Book Publication. p. 44. ISBN 9781312496477. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 September 2020. สืบค้นเมื่อ 22 July 2020.
- ↑ "Here are five super-rich people from the pages of history!". The Economic Times. 1 May 2015.
- ↑ "Family of Indian royals wins £35m court battle against Pakistan". BBC News. 2 October 2019. สืบค้นเมื่อ 16 September 2020.
- ↑ ":: The Seventh Nizam - The Nizam's Museum Hyderabad, Telangana, India". thenizamsmuseum.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 May 2019. สืบค้นเมื่อ 16 July 2020.
- ↑ "This day, that year: How Hyderabad became a part of the union of India". 16 September 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 December 2018. สืบค้นเมื่อ 16 July 2020.
- ↑ "HYDERABAD: Silver Jubilee Durbar". Time. 22 February 1937. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 May 2007. สืบค้นเมื่อ 20 May 2007.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อlakes built