ข้ามไปเนื้อหา

มีเตอร์เกจ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Metre gauge)
ขนาดความกว้างรางรถไฟ
กราฟิกเปรียบเทียบขนาดราง

เกจเล็ก
  สิบห้านิ้ว 381 มม. (15 นิ้ว)

เกจแคบ
  สองฟุต 597 มม.
600 มม.
603 มม.
610 มม.
(1 ฟุต 11 1/2 นิ้ว)
(1 ฟุต 11 5/8 นิ้ว)
(1 ฟุต 11 3/4 นิ้ว)
(2 ฟุต)
  สองฟุตหกนิ้ว 750 มม.
760 มม.
762 มม.
800 มม.
(2 ฟุต 5 1/2 นิ้ว)
(2 ฟุต 5 15/16 นิ้ว)
(2 ฟุต 6 นิ้ว)
(2 ฟุต 7 1/2 นิ้ว)
  สามฟุต 891 มม.
900 มม.
914 มม.
(2 ฟุต11 3/32 นิ้ว)
(2 ฟุต 11 7/16)
(3 ฟุต)
  หนึ่งเมตร 1,000 มม. (3 ฟุต 3 3/8 นิ้ว)
  สามฟุตหกนิ้ว 1,067 มม. (3 ฟุต 6 นิ้ว)
  สี่ฟุตหกนิ้ว 1,372 มม. (4 ฟุต 6 นิ้ว)

  รางมาตรฐานยุโรป 1,435 มม. (4 ฟุต 8 1/2 นิ้ว)

เกจกว้าง
  รัสเซีย 1,520 มม.
1,524 มม.
(4 ฟุต 11 27/32 นิ้ว)
(5 ฟุต)
  ไอร์แลนด์ 1,600 มม. (5 ฟุต 3 นิ้ว)
  ไอบีเรีย 1,668 มม. (5 ฟุต 5 21/32 นิ้ว)
  อินเดีย 1,676 มม. (5 ฟุต 6 นิ้ว)
  อเมริกัน 1,829 มม. (6 ฟุต)
  บรูเนล 2,140 มม. (7 ฟุต 1/4 นิ้ว)
แบ่งตามภูมิภาค
World map, rail gauge by region

มีเตอร์เกจ (อังกฤษ: metre gauge) หรือ รางรถไฟขนาดหนึ่งเมตร เป็นขนาดความกว้างรางรถไฟที่มีขนาดเล็กกว่าขนาดมาตรฐาน โดยมีความกว้างที่วัดภายในขนาด 1 เมตร โดยมีการใช้งานหลายประเทศใน แอฟริกา อเมริกา และเอเชีย โดยในทวีปยุโรปหลายประเทศได้มีการใช้ในอดีตและได้ปิดและปรับขนาดเป็นสแตนดาร์ดเกจ ยกเว้นในประเทศสเปนและประเทศสวิตเซอร์แลนด์

รางรถไฟในประเทศไทยเกือบทั้งหมด จะใช้รางขนาดมีเตอร์เกจเพื่อให้เท่ากับขนาดรางของประเทศเพื่อนบ้าน เช่น กัมพูชา มาเลเซีย ลาว เป็นต้น รวมถึงขนาดรางรถไฟของโครงการรถไฟฟ้าสายสีแดง ยกเว้นรางรถไฟของโครงการรถไฟฟ้าบีทีเอส โครงการรถไฟฟ้ามหานคร (ประกอบด้วย รถไฟฟ้าสายเฉลิมรัชมงคล, รถไฟฟ้าสายฉลองรัชธรรม) และโครงการรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ที่จะใช้ขนาดรางแบบสแตนดาร์ดเกจ

อ้างอิง

[แก้]