ไลโก
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ชื่ออื่น | ไลโก |
---|---|
ที่ตั้ง | Hanford Site, Washington and Livingston, Louisiana, US |
พิกัด | LIGO Hanford Observatory: 46°27′18.52″N 119°24′27.56″W / 46.4551444°N 119.4076556°W LIGO Livingston Observatory: 30°33′46.42″N 90°46′27.27″W / 30.5628944°N 90.7742417°W |
องค์กร | LIGO Scientific Collaboration |
ความยาวคลื่น | 43 km (7.0 kHz)–10,000 km (30 Hz) |
สร้างเมื่อ | 1994–2002 |
แสงแรก | 23 สิงหาคม ค.ศ. 2002 |
ชนิดของกล้อง | หอดูดาวคลื่นโน้มถ่วง |
ยาว | 4,000 เมตร (13,123.4 ฟุต) |
เว็บไซต์ | www |
LIGO observatories in the Contiguous United States |
หอสังเกตการณ์คลื่นความโน้มถ่วงโดยใช้อินเตอร์เฟอโรมิเตอร์ชนิดเลเซอร์ (อังกฤษ: Laser Interferometer Gravitational-Wave Observatory) หรือเรียกโดยย่อว่า ไลโก (LIGO) เป็นโครงการทดลองทางฟิสิกส์ขนาดใหญ่เพื่อสังเกตการณ์คลื่นความโน้มถ่วง ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2535 โดยคิป ธอร์น และโรนัลด์ เดรเวอร์ แห่งสถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย และเรนเนอร์ ไวส์ แห่งสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ร่วมกับนักวิทยาศาสตร์จากทั่วโลก โดยหนึ่งในนั้นมีคนไทยเข้าร่วม 2 คน คือ น.ส.ณัฐสินี กิจบุญชู และ ดร.ธารา เฉลิมทรงศักดิ์ โครงการนี้อยู่ภายใต้การบริหารงานโดยองค์กรความร่วมมือวิทยาศาสตร์ไลโก เพื่อสังเกตการณ์และวิเคราะห์ผลจากข้อมูลที่ได้เพื่อใช้คลื่นความโน้มถ่วงนี้ในทางดาราศาสตร์ ไลโกได้รับการสนับสนุนเงินทุนจากมูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา และได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากสภาสนับสนุนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งสหราชอาณาจักร สมาคมมักซ์พลังค์แห่งเยอรมนี และสภาวิจัยแห่งออสเตรเลีย[1][2]
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ "Major research project to detect gravitational waves is underway". University of Birmingham News. University of Birmingham. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-26. สืบค้นเมื่อ 28 November 2015.
- ↑ Shoemaker, David (2012). "The evolution of Advanced LIGO" (PDF). LIGO Magazine (1): 8. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-11-16. สืบค้นเมื่อ 2016-02-12.
อ้างอิง
[แก้]- Kip Thorne, ITP & Caltech. Spacetime Warps and the Quantum: A Glimpse of the Future. Lecture slides and audio
- Rainer Weiss, Electromagnetically coupled broad-band gravitational wave antenna เก็บถาวร 2011-07-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, MIT RLE QPR 1972
- On the detection of low frequency gravitational waves, M.E.Gertsenshtein and V.I.Pustovoit – JETP Vol.43 p. 605-607 (August 1962) Note: This is the first paper proposing the use of interferometers for the detection of gravitational waves.
- Wave resonance of light and gravitational waves – M.E.Gertsenshtein – JETP Vol.41 p. 113-114 (July 1961)
- Gravitational electromagnetic resonance, V.B.Braginskii, M.B.Mensky – GR.G. Vol.3 No.4 p. 401-402 (1972)
- Gravitational radiation and the prospect of its experimental discovery, V.B.Braginsky – Soviet Physics Vol.86 p. 433-446 (July 1965)
- On the electromagnetic detection of gravitational waves, V.B.Braginsky, L.P.Grishchuck, A.G.Dooshkevieh, M.B.Mensky, I.D.Novikov, M.V.Sazhin and Y.B.Zeldovisch – GR.G. Vol.11 No.6 p. 407-408 (1979)
- On the propagation of electromagnetic radiation in the field of a plane gravitational wave, E.Montanari – gr-qc/9806054 (June 11, 1998)
อ่านเพิ่มเติม
[แก้]- Einstein's Unfinished Symphony by Marcia Bartusiak, ISBN 0-425-18620-2.
- Fundamentals of Interferometric Gravitational Wave Detectors by Peter R. Saulson, ISBN 981-02-1820-6.
- Gravity's Shadow: The Search for Gravitational Waves by Harry Collins, ISBN 0-226-11378-7.
- Traveling at the Speed of Thought by Daniel Kennefick, ISBN 978-0-691-11727-0
- เปิดใจ “ณัฐสินี” สาวไทยหนึ่งในทีม “ไลโก้” เจ้าของรางวัลโนเบล 2017, สืบค้นเมื่อ 27/07/2019.