ข้ามไปเนื้อหา

ไชสัลเมร์

พิกัด: 26°54′47″N 70°54′54″E / 26.913°N 70.915°E / 26.913; 70.915
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Jaisalmer)
ไชสัลเมร์

ไจซัลเมร์
นคร
จากบนและซ้ายไปขวา: ป้อมไชสัลเมร์; หเวลีซาลีม สิงห์; หเวลีปาตโวน; ทะเลสาบคาทิสร; ผนังป้อมไชสัลเมร์; บาดาบาฆ; ภาพกว้างนครไชสัลเมร์
สมญา: 
หรินครี (นครทองคำ)
ไชสัลเมร์ตั้งอยู่ในรัฐราชสถาน
ไชสัลเมร์
ไชสัลเมร์
ไชสัลเมร์ตั้งอยู่ในประเทศอินเดีย
ไชสัลเมร์
ไชสัลเมร์
พิกัด: 26°54′47″N 70°54′54″E / 26.913°N 70.915°E / 26.913; 70.915
ประเทศอินเดีย
รัฐราชสถาน
อำเภอไชสัลเมร์
ผู้ก่อตั้งราวัล ไชสัล
การปกครอง
 • สมาชิกรัฐสภาไกลาศ จาวธรี
 • สมาชิกสภานิติบัญญัติรูปราม
พื้นที่[1]
 • เขตเมือง62.38 ตร.กม. (24.09 ตร.ไมล์)
ความสูง225 เมตร (738 ฟุต)
ประชากร
 (2011)
 • นคร65,471 คน
ภาษา
 • ทางการฮินดี[2]
 • ทางการเพิ่มเติมอังกฤษ[2]
 • พื้นถิ่นราชสถาน
เขตเวลาUTC+5:30 (IST)
PIN345 001
รหัสโทรศัพท์02992
รหัส ISO 3166RJ-IN
ทะเบียนพาหนะRJ-15
เว็บไซต์jaisalmer.rajasthan.gov.in

ไชสัลเมร์ (อักษรโรมัน: Jaisalmer, pronunciation) เป็นนครในรัฐราชสถาน ประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ 575 กิโลเมตร (357 ไมล์) ทางตะวันตกของชัยปุระ เมืองหลวงของรัฐ เมืองเป็นที่รู้จักจากป้อมไชสัลเมร์ ซึ่งประกอบด้วยหมู่วังและไชนมนเทียร ป้อมปราการ หเวลี และสิ่งปลูกสร้างโบราณในเมืองสร้างขึ้นจากหินทราย ทำให้เมืองมีสีราวกับทองคำจนเป็นที่มาของสมญานามว่า "หรินครี" หรือนครทองคำ ไชสัลเมร์ตั้งอยู่ใจกลางทะเลทรายธาร์ มีประชากรราว 78,000 คน ปัจจุบันไชสัลเมร์เป็นศูนย์กลางการปกครองของอำเภอไชสัลเมร์ และในอดีตเคยเป็นราชธานีของรัฐไชสัลเมร์

ไชสัลเมร์ก่อตั้งขึ้นโดยราวัล ไชสัล[3] ในปี ค.ศ. 1156[4] โดยชื่อ "ไชสัลเมร์" แปลว่า "ป้อมปราการเนินของไชสัล"

อ้างอิง

[แก้]
  1. "District Census Handbook - Jaisalmer" (PDF). censusindia.gov.in. สืบค้นเมื่อ 11 February 2021. See page 24 'Jaisalmer (M) - 62.38', the '38,401' figure is for the 'Jaisalmer - District Total'
  2. 2.0 2.1 "52nd Report of the Commissioner for Linguistic Minorities in India" (PDF). nclm.nic.in. Ministry of Minority Affairs. pp. 34–35. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 25 May 2017. สืบค้นเมื่อ 22 May 2022.
  3. Sehgal, K.K. Rajasthan [district Gazetteers.: Banswara], p. 1, ที่กูเกิล หนังสือ
  4. Balfour, Edward (1885). The encyclopædia of India and of Eastern and Southern Asia. Original from Oxford University: B. Quaritch. p. 406.