ข้ามไปเนื้อหา

คุวาหาฏี

พิกัด: 26°10′20″N 91°44′45″E / 26.17222°N 91.74583°E / 26.17222; 91.74583
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Guwahati)
คุวาหาฏี
บนลงล่างและซ้ายไปขวา: ภาพมุมสูงของคุวาหาฏี, รถโรปเวย์คุวาหาฏี, ย่านคุวาหาฏีคลับ, ดาราคารคุวาหาฏี, สถานีรถไฟคุวาหาฏี, กามขยมนเทียร, สนามกีฬาอินทิรา คานธี
สมญา: 
ประตูสู่อินเดียตะวันออกเฉียงเหนือ,[1] แสงสว่างตะวันออก[2]
กามรูป
กามรูป
คุวาหาฏี
กามรูป
กามรูป
คุวาหาฏี
พิกัด: 26°10′20″N 91°44′45″E / 26.17222°N 91.74583°E / 26.17222; 91.74583
ประเทศ อินเดีย
รัฐอัสสัม
ภูมิภาคอัสสัมล่าง
อำเภอมหานครกามรูป
การปกครอง
 • ประเภทสภานายก
 • องค์กรองค์การบริหารเทศบาลคุวาหาฏี
พื้นที่[3][4]
 • มหานคร216 ตร.กม. (83 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล[5]1,528 ตร.กม. (590 ตร.ไมล์)
ความสูง50−680 เมตร (164−2,231 ฟุต)
ประชากร
 (2011[6])[7]
 • มหานคร957,352 คน
 • อันดับ48th
 • ความหนาแน่น4,400 คน/ตร.กม. (11,000 คน/ตร.ไมล์)
เดมะนิมGuwahatian
เขตเวลาUTC+5:30 (IST)
PIN781 0xx
รหัสโทรศัพท์+91 - (0) 361
รหัส ISO 3166IN-AS
ทะเบียนพาหนะAS-01 (มหานครกามรูป) / AS-25 (ชนบทกามรูป)
HDIเพิ่มขึ้น 0.703 high[8]
อัตราเพศ940 / 1000
GDP (2020–21)0.48 แลกห์โคร (204.2 แสนล้านบาท)[9]
GDP ต่อหัว (2020–21)487,572 (210,000 บาท)[9]
การรู้หนังสือ91.47%[10]
เว็บไซต์www.gmcportal.in/gmc-web//

คุวาหาฏี (อัสสัม: গুৱাহাটী, ออกเสียง: [guwaɦati]) หรือชื่อเดิมว่า เคาหาฏี (গৌহাটী) เป็นเมืองใหญ่สุดในรัฐอัสสัม และเป็นเขตมหานครใหญ่สุดในอินเดียตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนเมืองทิสปุระ เมืองหลวงของรัฐ อยู่ในภูมิภาคนครเซอร์กิต (circuit city region) ของคุวาหาฏี และเป็นศูนย์กลางของรัฐบาลรัฐอัสสัม คุวาหาฏีเป็นหนึ่งในเมืองที่เติบโตเร็วที่สุดแห่งหนึ่งของอินเดีย[11] เมืองคุวาหาฏีตั้งอยู่บนฝั่งใต้ของแม่น้ำพรหมบุตร[12] และได้รับการเรียกขานว่าเป็น "ประตูสู่อินเดียตะวันออกเฉียงเหนือ"[13][14]

นครโบราณปรัคชโยติษปุระ และ ทุรชัย ซึ่งปัจจุบันอยู่ในคุวาหาฏีตอนบน เป็นอดีตราชธานีของรัฐโบราณ กามรูป[15] ในคุวาหาฏีมีโบสถ์พราหมณ์ที่สำคัญมากมาย เช่น กามขยมนเทียร, อุครตรมนเทียร, พสิสฐมนเทียร, ดูลโควินทมนเทียร, อุมานันทมนเทียร, นวคฤหมนเทียร, สุเกรศวรมนเทียร, รุเทรศวรมนเทียร, มนิกรรเนศวรมนเทียร, อัสวักลันตมนเทียร, ทีรเฆศวรีมนเทียร, อัสวกรันตมนเทียร, ลังเกศวรมนเทียร, ภุพเนศวรีมนเทียร ซึ่งทำให้มีการขนานนามเมืองนี้ว่าเป็น "นครแห่งมนเทียร"[16]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "An insider's guide to Guwahati: more than just a gateway to India's northeast". The Guardian. 28 September 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 October 2015. สืบค้นเมื่อ 5 October 2015.
  2. "Kamrup Metro District". Kamrup(M) District Administration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 September 2015. สืบค้นเมื่อ 5 October 2015.
  3. "Guwahati City".
  4. "Magisterial powers for Guwahati top cop". The Telegraph. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 September 2015. สืบค้นเมื่อ 15 September 2015.
  5. "GMDA".
  6. "Population of Guwahati 2020 (Demographic, Facts, Etc) – India Population 2020".
  7. "Guwahati City Census". censusindia.gov.in. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 September 2015. สืบค้นเมื่อ 15 September 2015.
  8. "Archived copy" (PDF). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 22 March 2017. สืบค้นเมื่อ 26 January 2018.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  9. 9.0 9.1 "Guwahati City Overview". สืบค้นเมื่อ 26 January 2022.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  10. "Guwahati City Census 2011 data". Census2011.co.in. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 September 2015. สืบค้นเมื่อ 2014-09-22.
  11. Choudhury, Rekha (2010-12-31). "Floating population in Guwahati and its impact on the citys environment". University (ภาษาอังกฤษ).
  12. "Capital of Assam". Assam Online Portal. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 August 2015. สืบค้นเมื่อ 31 August 2015.
  13. "Guwahati a gateway to the exotic North East". Mumbai Mirror (ภาษาอังกฤษ). November 27, 2011. สืบค้นเมื่อ 2020-06-10.
  14. Bhushan, Chandra (2005). Assam: Its Heritage and Culture. Kalpaz Publications. p. 182. ISBN 978-8178353524.
  15. "History". Government of Assam. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 May 2013. สืบค้นเมื่อ 14 June 2012.
  16. "About Guwahati". guwahationline.in. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 October 2015. สืบค้นเมื่อ 17 October 2015.