อาร์ทีมิซินิน
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
การอ่านออกเสียง | /ɑːrtɪˈmɪsɪnɪn/ |
ชื่ออื่น | Artemisinine, qinghaosu |
ช่องทางการรับยา | Oral |
รหัส ATC | |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS | |
PubChem CID | |
ChemSpider | |
UNII | |
KEGG | |
ChEBI | |
ChEMBL | |
ECHA InfoCard | 100.110.458 |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C15H22O5 |
มวลต่อโมล | 282.332 g/mol g·mol−1 |
แบบจำลอง 3D (JSmol) | |
ความหนาแน่น | 1.24 ± 0.1 g/cm3 |
จุดหลอมเหลว | 152 ถึง 157 องศาเซลเซียส (306 ถึง 315 องศาฟาเรนไฮต์) |
จุดเดือด | decomposes |
| |
| |
7 (what is this?) (verify) | |
อาร์ทีมิซินิน (อังกฤษ: Artemisinin) หรือ qinghao su และสารอนุพันธุ์สังเคราะห์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นกลุ่มของยาที่ใช้สำหรับรักษาโรคมาลาเรียชนิดที่เกิดจากเชื้อ en:Plasmodium falciparum ค้นพบโดย ถู โยวโยว นักวิทยาศาสตร์หญิงชาวจีน ซึ่งได้เป็นผู้ร่วมรับรางวัลโนเบลสาขาการแพทย์ ปี พ.ศ. 2558 สำหรับการค้นพบนี้ ในปัจจุบันการใช้ยากลุ่มนี้ยืนพื้นรักษาร่วมกับยากลุ่มอื่นๆ ซึ่งเรียกว่า การรักษาแบบผสมผสานด้วยอาร์ทีมิซินิน (artemisinin-combination therapy) ถือเป็นการรักษามาตรฐานสำหรับโรคมาลาเรียที่เกิดจากเชื้อ P. falciparum สารนี้แยกได้จากต้นโกฐจุฬาลัมพา (ชื่อวิทยาศาสตร์ Artemisia annua) ซึ่งเป็นพืชสมุนไพรของแพทย์แผนจีน ปัจจุบันสารนี้สามารถผลิตได้โดยใช้ยีสต์ที่ผ่านการดัดแปลงพันธุกรรม
ประวัติศาสตร์
[แก้]การค้นพบ
[แก้]โกฐจุฬาลัมพาจีนเป็นพืชที่ใช้เป็นสมุนไพรซึ่งพบได้ทั่วโลก แพทย์สมุนไพรจีนใช้พืชนี้รักษาโรคมาลาเรียมาแล้วกว่า 2000 ปี มีบันทึกถึงสมุนไพรนี้ที่เก่าแก่ที่สุดตั้งแต่ 200 ปีก่อนคริสตกาลในตำราสูตรยารักษาห้าสิบสองโรค ที่ขุดค้นพบที่หลุมฝังศพหม่าหวังตุ้ย[1] ส่วนการนำสมุนไพรนี้มาใช้รักษามาลาเรียถูกบรรยายไว้ครั้งแรกในตำราคู่มือรักษาโรคฉุกเฉิน (จีน: 肘后备急方) เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 4 โดย Ge Hong ตำรานี้กล่าวถึงวิธีรักษามาลาเรียเอาไว้ 43 วิธี[2]
บันทึกรายงานประวัติศาสตร์ว่าด้วยการค้นพบยานี้ได้รับการเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตตั้งแค่ปี 2006[3]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Medical manuscripts from Ma Wang Dui". Qinghaosu Project.
- ↑ "Zhou Hou Bei Ji Fang". Qinghaosu Project.
- ↑ Burns, William. "Qinghaosu Project website". Blogspot. สืบค้นเมื่อ 8 August 2014.