ข้ามไปเนื้อหา

อาร์จินีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Arginine)
อาร์จินีน
Skeletal formula of arginine
ชื่อ
ชื่ออื่น
2-Amino-5-guanidinopentanoic acid[ต้องการอ้างอิง]
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
3DMet
1725411, 1725412 R, 1725413 S
ChEBI
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ดรักแบงก์
ECHA InfoCard 100.000.738 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 230-571-3
364938 R
KEGG
MeSH Arginine
RTECS number
  • CF1934200 S
UNII
  • InChI=1S/C6H14N4O2/c7-4(5(11)12)2-1-3-10-6(8)9/h4H,1-3,7H2,(H,11,12)(H4,8,9,10) checkY
    Key: ODKSFYDXXFIFQN-UHFFFAOYSA-N checkY
  • NC(CCC[nH]:c(:[nH]):[nH2])c(:[o]):[oH]
  • NC(CCCNC(N)=N)C(O)=O
คุณสมบัติ
C6H14N4O2
มวลโมเลกุล 174.204 g·mol−1
ลักษณะทางกายภาพ ผลึกสีขาว
กลิ่น Odourless
จุดหลอมเหลว 260 องศาเซลเซียส; 500 องศาฟาเรนไฮต์; 533 เคลวิน
87.1 g L−1 (at 20 °C)
log P −1.652
pKa 2.488
Basicity (pKb) 11.509
อุณหเคมี
232.8 J K−1 mol−1 (at 23.7 °C)
Std molar
entropy
(S298)
250.6 J K−1 mol−1
−624.9–−622.3 kJ mol−1
−3.7396–−3.7370 MJ mol−1
ความอันตราย
GHS labelling:
The exclamation-mark pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)
เตือน
H319
P305+P351+P338
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

อาร์จินีน (อังกฤษ: Arginine) เป็นกรดอะมิโน-α ถูกแยกออกมาครั้งแรกในปี 1886[1] แอล-ฟอร์ม เป็นหนึ่งใน 20 กรดอะมิโนที่พบมากที่สุดในธรรมชาติ อยู่ในระดับอณูพันธุศาสตร์ ในโครงสร้างของกรดเอ็มอาร์เอ็นเอ , CGU, CGC, CGA, CGG, AGA, และ AGG แฝดสามของฐานเบสหรือโคดอนโค้ดที่มีสำหรับอาร์จินีนในระหว่างการสังเคราะห์โปรตีน ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม, อาร์จินีน จัดเป็นกรดอะมิโนจำเป็น หรือเงื่อนไขเซไมเอสเซนเตียล ขึ้นอยู่กับขั้นตอนการพัฒนาและสถานะสุขภาพของแต่ละบุคคล[2]

โดยทั่วไปคนส่วนใหญ่ไม่จำเป็นต้องใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารอาร์จินีน เพราะร่างกายมักจะสร้างเพียงพอ[1]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 Mayo Clinic
  2. Tapiero, H.; และคณะ (November 2002). "L-Arginine". Biomedicine and Pharmacotherapy. 56 (9): 439–445 REVIEW. PMID 12481980. สืบค้นเมื่อ 2009-11-29.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]