ข้ามไปเนื้อหา

ภาวะเพศกำกวม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก เพศกำกวม)
ตัวอย่างอวัยวะเพศกำกวมแบบหนึ่งของมนุษย์

ภาวะเพศกำกวม (อังกฤษ: intersexuality) เป็นภาวะของสิ่งที่มีชีวิตในสปีชีส์ gonochoristic ที่โครโมโซมเพศ, อวัยวะเพศ และ/หรือ ลักษณะเฉพาะทางเพศเมื่อเติบโตขึ้น ไม่ได้ถูกกำหนดให้เป็นหญิงหรือชายอย่างชัดเจน สิ่งมีชีวิตที่มีเพศกำกวมอาจมีลักษณะทางชีวภาพของทั้งเพศหญิงและเพศชาย[1]

คนที่อยู่ในภาวะเพศกำกวม อาจเผชิญกับปัญหาการเป็นตราบาปและการแบ่งแยกตั้งแต่เกิดหรือเมื่อค้นพบว่ามีลักษณะภาวะเพศกำกวม มีการบันทึกไว้ในในบางประเทศเช่น แอฟริกาและเอเชียว่าอาจมีการฆ่าทารก การละทิ้งและถูกมองว่าเป็นตราบาปของครอบครัว[2][3][4] ทั่วโลก ทารกและเด็กที่มีภาวะเพศกำกวม เช่นผู้ที่มีอวัยวะเพศภายนอกคลุมเครือ มันถูกเปลี่ยนแปลงทางการผ่าตัดหรือฮอร์โมนเพื่อสร้างลักษณะทางเพศที่เป็นที่ยอมรับทางสังคมมากขึ้น อย่างไรก็ตามนี่ถือเป็นข้อโต้แย้งโดยไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่ามีผลลัพธ์ที่ดี[5] การรักษาดังกล่าวอาจเกี่ยวข้องกับการทำหมัน ผู้ใหญ่รวมทั้งนักกีฬาหญิงแนวหน้าต่างได้รับการรักษาแบบนี้ด้วยเช่นกัน[6][7] ประเด็นเหล่านี้ได้รับการพิจารณาว่าเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนในต่างประเทศ[8][9] และสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติและสถาบันจริยธรรม[10][11]

ในเดือนเมษายนปี 2015 มอลตาเป็นประเทศแรกที่ทำให้การแทรกแซงทางการแพทย์ที่ไม่ยินยอมเพื่อปรับเปลี่ยนกายวิภาคของเพศรวมทั้งคนที่มีภาวะเพศกำกวมผิดกฏหมาย[12][13]

อ้างอิง

[แก้]
  1. http://www.plantpath.cornell.edu/glossary/Defs_I.htm On-Line Glossary of Technical Terms in Plant Pathology
  2. Civil Society Coalition on Human Rights and Constitutional Law; Human Rights Awareness and Promotion Forum; Rainbow Health Foundation; Sexual Minorities Uganda; Support Initiative for Persons with Congenital Disorders (2014). "Uganda Report of Violations based on Sex Determination, Gender Identity, and Sexual Orientation". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 พฤษภาคม 2015.
  3. Grady, Helen; Soy, Anne (4 พฤษภาคม 2017). "The midwife who saved intersex babies". BBC World Service, Kenya. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 พฤษภาคม 2017.
  4. Beyond the Boundary - Knowing and Concerns Intersex (ตุลาคม 2015). "Intersex report from Hong Kong China, and for the UN Committee Against Torture: the Convention against Torture and Other Cruel Inhuman or Degrading Treatment or Punishment". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 มีนาคม 2017.
  5. Submission 88 to the Australian Senate inquiry on the involuntary or coerced sterilisation of people with disabilities in Australia เก็บถาวร 23 กันยายน 2015 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Australasian Paediatric Endocrine Group (APEG), 27 June 2013
  6. Jordan-Young, R. M.; Sonksen, P. H.; Karkazis, K. (April 2014). "Sex, health, and athletes". BMJ. 348 (apr28 9): –2926–g2926. doi:10.1136/bmj.g2926. ISSN 1756-1833. PMID 24776640. สืบค้นเมื่อ 21 May 2016.
  7. Macur, Juliet (6 ตุลาคม 2014). "Fighting for the Body She Was Born With". The New York Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 มกราคม 2015. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2015.
  8. Report of the UN Special Rapporteur on Torture เก็บถาวร 24 สิงหาคม 2016 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Office of the UN High Commissioner for Human Rights, February 2013.
  9. Eliminating forced, coercive and otherwise involuntary sterilization, An interagency statement เก็บถาวร 11 กรกฎาคม 2015 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, World Health Organization, May 2014.
  10. Senate of Australia; Community Affairs References Committee (2013). Involuntary or coerced sterilisation of intersex people in Australia. Australian Senate. Canberra. ISBN 978-1-74229-917-4. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 กันยายน 2015.
  11. Swiss National Advisory Commission on Biomedical Ethics NEK-CNE (พฤศจิกายน 2012). On the management of differences of sex development. Ethical issues relating to "intersexuality".Opinion No. 20/2012 (PDF). 2012. Berne. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 23 เมษายน 2015.
  12. Reuters (1 April 2015). "Surgery and Sterilization Scrapped in Malta's Benchmark LGBTI Law". The New York Times.
  13. Star Observer (2 เมษายน 2015). "Malta passes law outlawing forced surgical intervention on intersex minors". Star Observer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 สิงหาคม 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]