เซาท์ไชนามอร์นิงโพสต์
ประเภท | หนังสือพิมพ์รายวัน |
---|---|
รูปแบบ | บรอดชีต |
เจ้าของ | กลุ่มอาลีบาบา |
ผู้ก่อตั้ง |
|
ผู้เผยแพร่ | SCMP Publishers |
ประธาน | Catherine So, CEO |
หัวหน้าบรรณาธิการ | Tammy Tam |
บรรณาธิการ | Chow Chung-yan |
รองบรรณาธิการ | Zuraidah Ibrahim |
บรรณาธิการบริหาร | [ว่าง] |
บรรณาธิการข่าว | Yonden Lhatoo |
บรรณาธิการเจตคติ | Robert Haddow |
บรรณาธิการกีฬา | Joshua Ball (รักษาการ) |
บรรณาธิการถ่ายภาพ | Robert Ng |
Digital editor | Clark Ainsworth |
ก่อตั้งเมื่อ | 6 พฤศจิกายน 1903 (44268 ฉบับ) |
สำนักงานใหญ่ | Global: Morning Post Centre 22 Dai Fat Street Tai Po Industrial Estate Tai Po, New Territories ฮ่องกง Kong ต่างประเทศ: 56 Mott Street นิวยอร์ก รัฐนิวยอร์ก 10013 สหรัฐ |
ยอดจำหน่าย |
|
เลขมาตรฐานสากล (ISSN) | 1021-6731 (พิมพ์) 1563-9371 (เว็บ) |
OCLC number | 648902513 |
เว็บไซต์ | www |
เซาท์ไชนามอร์นิงโพสต์ | |||||||||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 南華早報 | ||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวย่อ | 南华早报 | ||||||||||||
|
เซาท์ไชนามอร์นิงโพสต์ (อังกฤษ: South China Morning Post, SCMP) กับ ซันเดย์มอร์นิงโพสต์ (Sunday Morning Post) ของฉบับวันอาทิตย์ เป็นหนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษฐานฮ่องกงที่ถือครองโดยกลุ่มอาลีบาบา[2][3] ก่อตั้งใน ค.ศ. 1903 โดย Tse Tsan-tai กับอัลเฟรด คันนิงแฮม หนังสือพิมพ์นี้ยังคงเป็น newspaper of record ของฮ่องกงนับตั้งแต่สมัยอาณานิคมบริติช[4][5]: 251
การหมุนเวียนของหนังสือพิมพ์ยังอยู่ในสภาพคงที่เป็นเวลาหลายปี โดยยอดขายเฉลี่ยต่อวันอยู่ที่ 100,000 ฉบับใน ค.ศ. 2016 งานสำรวจของมหาวิทยาลัยฮ่องกงของจีนใน ค.ศ. 2019 ระบุว่า SCMP ถือได้ว่าเป็นหนังสือพิมพ์จ่ายเงินที่น่าเชื่อถือที่สุดในฮ่องกง[6]
SCMP เคยถือครองโดยนิวส์คอร์ปอเรชันของรูเพิร์ต เมอร์ด็อกใน ค.ศ. 1986 จนกระทั่ง Robert Kuok ผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์สัญชาติมาเลเซีย ซื้อกิจการนี้ใน ค.ศ. 1993[3] จากนั้น ในวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 2016 กลุ่มอาลีบาบาซื้ิอทรัพย์สินสื่อของกลุ่ม SCMP ซึ่งรวมถึง SCMP ด้วย[2][7] ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2017 Gary Liu อดีตประธานเจ้าหน้าที่บริหารจากดิกก์ กลายเป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหารของ SCMP[8]
นับตั้งแต่เปลี่ยนเจ้าของใน ค.ศ. 2016 มีข้อกังวลเกี่ยวกับความเป็นอิสระของบรรณาธิการและการเซ็นเซอร์ตัวเองของสำนักพิมพ์ นักวิจารณ์อย่าง เดอะนิวยอร์กไทมส์, Der Spiegel และ ดิแอตแลนติก กล่าวหาว่าหนังสือพิมพ์นี้มีภารกิจสนับสนุนอำนาจอ่อนของจีนไปยังต่างประเทศ[9][10] ใน ค.ศ. 2022 บรรณาธิการของ SCMP และนักข่าวอีกสองคนลาออกหลังสื่อตีพิมพ์ถูกกล่าวหาว่าระงับการตีพิมพ์การสอบสวนการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวอุยกูร์[11]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "South China Morning Post Advertising & Marketing Solutions, About SCMP". advertising.scmp.com (ภาษาอังกฤษ). 17 February 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 May 2019. สืบค้นเมื่อ 2019-05-29.
- ↑ 2.0 2.1 Lhatoo, Yonden (5 April 2016). "Paywall down as Alibaba takes ownership of SCMP". SCMP.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 April 2016. สืบค้นเมื่อ 5 April 2016.
- ↑ 3.0 3.1 "Alibaba Buys HK's SCMP to Counter 'Western Bias'". Asia Sentinel. 13 December 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 December 2015. สืบค้นเมื่อ 14 December 2015.
- ↑ Liu, Ming; Zhong, Jiali (2020). "Between national and local: Identity representations of post-colonial Hong Kong in a local English newspaper". Discourse, Context & Media. 36: 100401. doi:10.1016/j.dcm.2020.100401. S2CID 218970137.
- ↑ Pepper, Suzanne (2007). Keeping Democracy at Bay: Hong Kong and the Challenge of Chinese Political Reform. Rowman & Littlefield. ISBN 9781461638483.
- ↑ Centre for Communication and Public Opinion Survey (2019). "Tracking Research: Public Evaluation on Media Credibility - Survey Results" (PDF). Chinese University of Hong Kong. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 1 May 2020. สืบค้นเมื่อ 14 March 2020.
- ↑ Carew, Rick (11 December 2015). "Alibaba to Buy South China Morning Post". The Wall Street Journal. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 December 2015. สืบค้นเมื่อ 11 December 2015.
- ↑ Leow, Annabeth (7 September 2019). "Old-School Newsman". The Business Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 September 2019. สืบค้นเมื่อ 16 September 2019.
- ↑ Nezik, Ann-Kathrin (23 August 2018). "Newspaper Could Help Rebrand China Abroad". Der Spiegel (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 August 2020. สืบค้นเมื่อ 24 March 2020.
- ↑ McLaughlin, Timothy (1 August 2020). "A newsroom at the edge of autocracy". The Atlantic. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 August 2020. สืบค้นเมื่อ 28 May 2021.
- ↑ General, Ryan (October 27, 2022). "SCMP editor who quit over rejected story on Xinjiang human rights abuses is warned not to publish it". Yahoo! News (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2023-03-24.