ข้ามไปเนื้อหา

โซเดียมคลอไรด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก เกลือแกง)
โซเดียมคลอไรด์

ผลึกโซเดียมคลอไรด์ในรูปของเกลือหิน

โครงสร้างผลึกที่มีโซเดียมเป็นสีม่วงและคลอไรด์เป็นสีเขียว[1]
ชื่อ
IUPAC name
Sodium chloride
ชื่ออื่น
  • common salt, regular salt
  • halite, rock salt
  • table salt, sea salt
  • saline
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
3534976
ChEBI
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.028.726 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 231-598-3
13673
KEGG
MeSH Sodium+chloride
RTECS number
  • VZ4725000
UNII
  • InChI=1S/ClH.Na/h1H;/q;+1/p-1 checkY
    Key: FAPWRFPIFSIZLT-UHFFFAOYSA-M checkY
  • InChI=1/ClH.Na/h1H;/q;+1/p-1
    Key: FAPWRFPIFSIZLT-REWHXWOFAE
  • [Na+].[Cl-]
คุณสมบัติ
NaCl
มวลโมเลกุล 58.443 g/mol[2]
ลักษณะทางกายภาพ ผลึกลูกบาศก์ไม่มีสี[2]
กลิ่น ไม่มีกลิ่น
ความหนาแน่น 2.17 g/cm3[2]
จุดหลอมเหลว 800.7 องศาเซลเซียส (1,473.3 องศาฟาเรนไฮต์; 1,073.8 เคลวิน)[2]
จุดเดือด 1,465 องศาเซลเซียส (2,669 องศาฟาเรนไฮต์; 1,738 เคลวิน)[2]
360 g/L (25°C)[2]
ความสามารถละลายได้ ใน แอมโมเนีย 21.5 g/L
ความสามารถละลายได้ ใน เมทานอล 14.9 g/L
−30.2·10−6 cm3/mol[3]
1.5441 (at 589 nm)[4]
โครงสร้าง[5]
Face-centered cubic
(see text), cF8
Fm3m (No. 225)
a = 564.02 pm
4
octahedral at Na+
octahedral at Cl
อุณหเคมี[6]
50.5 J/(K·mol)
Std molar
entropy
(S298)
72.10 J/(K·mol)
−411.120 kJ/mol
เภสัชวิทยา
A12CA01 (WHO) B05CB01, B05XA03, S01XA03
ความอันตราย
NFPA 704 (fire diamond)
NFPA 704 four-colored diamondHealth 0: Exposure under fire conditions would offer no hazard beyond that of ordinary combustible material. E.g. sodium chlorideFlammability 0: Will not burn. E.g. waterInstability 0: Normally stable, even under fire exposure conditions, and is not reactive with water. E.g. liquid nitrogenSpecial hazards (white): no code
0
0
0
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC):
3 g/kg (oral, rats)[7]
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนอื่น ๆ
โซเดียมฟลูออไรด์
โซเดียมโบรไมด์
โซเดียมไอโอไดด์
โซเดียมแอสทาไทด์
แคทไอออนอื่น ๆ
ลิเทียมคลอไรด์
โพแทสเซียมคลอไรด์
รูบิเดียมคลอไรด์
ซีเซียมคลอไรด์
แฟรนเซียมคลอไรด์
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

โซเดียมคลอไรด์ (อังกฤษ: Sodium chloride, สูตรเคมี: NaCl) มีชื่อที่เรียกทั่วไปคือ เกลือแกง เป็นสารประกอบเคมี โซเดียมคลอไรด์เป็นเกลือที่มีบทบาทต่อความเค็มของมหาสมุทร และของเหลวภายนอกเซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เป็นส่วนประกอบหลักในเกลือที่กินได้ ถูกใช้อย่างกว้างขวางในการเป็นเครื่องปรุงรส และใช้ในการถนอมอาหาร

โครงสร้างผลึก

[แก้]
โครงสร้างผลึกของโซเดียมคลอไรด์ แต่ละอะตอมมีอะตอมล้อมรอบ 6 อะตอม โดยมีการจัดเรียงเป็นทรงแปดหน้า การจัดเรียงกันแบบนี้เรียกว่า แบบลูกบาศก์ที่ชิดที่สุด (ccp-cubic close packed).
สีน้ำเงินอ่อน = Na+
สีเขียวเข้ม = Cl

โซเดียมคลอไรด์ จะเกิดผลึกแบบคิวบิก ในโครงสร้างของผลึก ไอออนคลอไรด์ซึ่งมีขนาดใหญ่จะถูกจัดเรียงแบบ ccp ในขณะที่โซเดียมไอออนซึ่งมีขนาดเล็กกว่าจะถูกบรรจุในช่องว่าง ออกตะฮีดรัลระหว่างไอออนคลอไรด์ แต่ละไอออนจะถูกล้อมรอบด้วยไอออนอีกชนิด 6 ตัว ซึ่งเป็นโครงสร้างพื้นฐานเดียวกันกับที่พบในแร่อื่นหลายชนิดและรู้จักกันในชื่อ โครงสร้าง rock-salt

ความสำคัญทางชีววิทยา

[แก้]

โซเดียมคลอไรด์ มีความสำคัญต่อ สิ่งมีชีวิตบนโลกในเนื้อเยื้อชีวภาพ และของเหลวในร่างกาย จะมีเกลือในปริมาณที่แตกต่างกัน ความเข้มข้นของ โซเดียม ไอออนใน เลือด เป็นความสัมพันธ์โดยตรงต่อการควบคุมระดับที่ปลอดภัยของของเหลวในร่างกาย การแพร่กระจายของ การกระตุ้นประสาท โดยซิกนัล ทรานสดักชัน (signal transduction) ถูกควบคุมโดยโซเดียม ไอออน (โพแทสเซียม เป็น โลหะ ที่มีความสัมพนธ์ใกล้ชิดกับโซเดียม ซึ่งเป็นส่วนประกอบหลักในระบบร่างกายเช่นกัน)

0.9% โซเดียมคลอไรด์ ใน น้ำ ถูกเรียกว่า สารละลายทางสรีรวิทยา (physiological solution) หรือ นอร์มัล ซาไลน์ (normal saline) เพราะมันเป็นความเข้มข้นเดียว (isotonic) กับ พลาสมาในเลือด นอร์มัล ซาไลน์ ใช้ในทาง การแพทย์เพื่อทดแทนการสูญเสียของเหลวจากร่างกายและการรักษาแบบนี้ว่า การให้ของเหลวทดแทน (fluid replacement) ซึ่งใช้แพร่หลายทาง การแพทย์ เพื่อป้องกันการ ขาดน้ำ (dehydration) หรือ อินทราวีนัสเทอราปี (intravenous therapy) เพื่อป้องกัน การช๊อค จาก ปริมาตรเลือดต่ำ สาเหตุจากการ สูญเสียเลือด

มนุษย์ไม่เหมือนสัตว์ ไพรเมต ด้วยกันที่สามารถกำจัดเกลือจำนวนมากได้ทาง เหงื่อ (sweating)

การผลิตและการใช้

[แก้]

ปัจจุบันเกลือถูกผลิตโดย การระเหย ของ น้ำทะเล หรือ น้ำเค็ม (brine) จากแหล่งอื่นๆ เช่น บ่อน้ำเค็ม ทะเลสาบน้ำเค็ม (salt lake) และการทำเหมืองเกลือที่เรียกว่า ร็อกซอลต์ (rock salt หรือ เฮไลต์)

ในขณะที่ผู้คนจำนวนมากคุ้นเคยกับการใช้เกลือ ปรุงอาหาร แต่พวกเขาอาจไม่รู้ว่าเกลือใช้ประโยชน์ได้อีกมากมาย เช่น

ความสามารถในการละลายของโซเดียมคลอไรด์ในตัวละลายต่างชนิด
(g NaCl / 100 g of solvent at 25?C)
H2O 36
แอมโมเนียเหลว 3.02
เมทานอล 1.4
กรดฟอร์มิก 5.2
ซัลโฟเลน 0.005
อะซิโตนิไตรล์ 0.0003
อะซิโตน 0.000042
ฟอร์มาไมด์ 9.4
ไดเมทิลฟอร์มาไมด์ 0.04
Reference:
Burgess, J. Metal Ions in Solution
(Ellis Horwood, New York, 1978)
ISBN 0-85312-027-7

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Sodium Chloride (NaCl) Crystal". PhysicsOpenLab. สืบค้นเมื่อ 23 August 2021.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 Haynes, 4.89
  3. Haynes, 4.135
  4. Haynes, 10.241
  5. Haynes, 4.148
  6. Haynes, 5.8
  7. Sodium chloride. nlm.nih.gov.

แหล่งอ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]