ข้ามไปเนื้อหา

ลีกาซาตู

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก อินโดนีเซียซูเปอร์ลีก)
ลีกาซาตู
ก่อตั้ง1994; 30 ปีที่แล้ว (1994)
ประเทศธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
สมาพันธ์สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี)
จำนวนทีม18
ระดับในพีระมิด1
ตกชั้นสู่ลีกาดูวา
ถ้วยระดับประเทศปียาลาอินโดเนซียา
ถ้วยระดับนานาชาติเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก
เอเอฟซีคัพ
ทีมชนะเลิศปัจจุบันเปอร์ซิบบันดุง (ครั้งที่ 2)
(2023–24)
ชนะเลิศมากที่สุดเปอร์ซีปูราจายาปูรา (3 ครั้ง)
หุ้นส่วนโทรทัศน์อินโดซียาร์
เว็บไซต์Liga Indonesia
ปัจจุบัน: 2024–25

ลีกาซาตู (อินโดนีเซีย: Liga 1) หรือเบเอร์อีลีกาซาตู (อินโดนีเซีย: BRI Liga 1) ตามชื่อผู้สนับสนุน เป็นลีกฟุตบอลระดับที่สูงที่สุดของประเทศอินโดนีเซีย บริหารจัดการโดย เปเต ลีกาอินโดเนซียาบารู

ก่อนหน้านั้นเคยมี อินโดนีเซียพรีเมียร์ลีก ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2011-2013 ต่อมาได้ยุบลีกรวมกัน และเปลี่ยนชื่อเป็น อินโดนีเซียซูเปอร์ลีก[1][2] ผู้สนับสนุนปัจจุบันคือ ธนาคารรักยัตอินโดเนซียา (เบเอร์อี)[3]

สโมสรในฤดูกาลปัจจุบัน (2022–23)

[แก้]
ที่ตั้งของสโมสรที่เข้าร่วมแข่งขันในฤดูกาลปัจจุบัน (สโมสรบนเกาะชวาแสดงในแผนที่ด้านล่าง)
ทีม ที่ตั้ง สนาม ความจุ ฤดูกาล 2021–22
เดวา ยูไนเต็ด ตาเงอรังใต้ (บันเติน) อินโดมิลก์อาเรนา[a] 30,000 3 (ลีกาดูวา)
บอร์เนียว ซามารินดา ซามารินดา (กาลีมันตันตะวันออก) สนามกีฬาเซอกีรี 16,000 6
บายังการา เบอกาซี (ชวาตะวันตก) สนามกีฬาวีบาวามุกตี 30,000 3
บารีโตปูเตอรา บันจาร์มาซิน (กาลีมันตันใต้)
มาร์ตาปูรา (กาลีมันตันใต้)
สนามกีฬา 17 พฤษภาคม (ปิดปรับปรุง)
สนามกีฬาเดอมังเละฮ์มัน (ชั่วคราว)[b]
15,000 15
บาหลี ยูไนเต็ด กียาญาร์ (บาหลี) สนามกีฬากัปเต็นอี วายัน ดิปตา 18,000 ชนะเลิศ
เปอร์ซิกเกอดีรี เกอดีรี (ชวาตะวันออก) สนามกีฬาบราวีจายา 20,000 11
เปอร์ซิซโซโล ซูราการ์ตา (ชวากลาง) สนามกีฬามานาฮัน 20,000 1 (ลีกาดูวา)
เปอร์ซิบบันดุง บันดุง (ชวาตะวันตก) สนามกีฬาเกอโลราบันดุงเลาตันอาปี 38,000 รองชนะเลิศ
เปอร์ซีกาโบ 1973 โบโกร์ (ชวาตะวันตก) สนามกีฬาปากันซารี 30,000 10
เปอร์ซีจาจาการ์ตา จาการ์ตา สนามกีฬาปาตรียตจันดราบากา 30,000 8
เปอร์ซีตาตาเงอรัง ตาเงอรัง (บันเติน) อินโดมิลก์อาเรนา 30,000 12
เปอร์เซบายาซูราบายา ซูราบายา (ชวาตะวันออก) สนามกีฬาเกอโลราบุงโตโม 45,000 5
เปเอ็ซอีเอ็ซ เซอมารัง เซอมารัง (ชวากลาง) สนามกีฬาจาตีดีรี 25,000 7
เปเอ็ซเอ็ซ ซเลมัน ซเลมัน (ยกยาการ์ตา) สนามกีฬามากูโวฮาร์โจ 31,700 13
เปเอ็ซเอ็ม มากัซซาร์ มากัซซาร์ (ซูลาเวซีใต้) สนามกีฬาเกอโลรา เบ. เจ. ฮาบีบี 20,000 14
มาดูรา ยูไนเต็ด ปาเมอกาซัน (ชวาตะวันออก) สนามกีฬาเกอโลราราตูปาเมอลีงัน 15,000 9
อาเรมา มาลัง (ชวาตะวันตก) สนามกีฬากันจูรูฮัน 42,449 4
เอร์อาเอ็นเอ็ซ นูซันตารา โบโกร์ (ชวาตะวันตก) สนามกีฬาปากันซารี[c] 30,000 2 (ลีกาดูวา)
หมายเหตุ
  1. สนามตั้งอยู่ในเมืองตาเงอรัง ใช้สนามร่วมกับเปอร์ซีตาตาเงอรัง
  2. บารีโตปูเตอราใช้สนามกีฬาเดอมังเละฮ์มันชั่วคราวเนื่องจากสนามกีฬา 17 พฤษภาคมปิดปรับปรุง[4]
  3. ใช้สนามร่วมกับเปอร์ซีกาโบ 1973

รายชื่อทีมชนะเลิศในแต่ละฤดูกาล

[แก้]
ฤดูกาล ชนะเลิศ รองชนะเลิศ
2008–09 เปอร์ซีปูราจายาปูรา เปอร์ซีวาวาเมนา
2009–10 อาเรมา เปอร์ซีปูราจายาปูรา
2010–11 เปอร์ซีปูราจายาปูรา อาเรมา
2011–12 ซรีวีจายา เปอร์ซีปูราจายาปูรา
2013 เปอร์ซีปูราจายาปูรา อาเรมา
2014 เปอร์ซิบบันดุง เปอร์ซีปูราจายาปูรา
2015 งดการแข่งขัน
2017 บายังการา บาหลี ยูไนเต็ด
2018 เปอร์ซีจาจาการ์ตา เปเอ็ซเอ็ม มากัซซาร์
2019 บาหลี ยูไนเต็ด เปอร์เซบายาซูราบายา
2020 ยกเลิกการแข่งขัน
2021–22 บาหลี ยูไนเต็ด เปอร์ซิบบันดุง
2022–23 เปเอ็ซเอ็ม มากัซซาร์ เปอร์ซีจาจาการ์ตา
2023–24 เปอร์ซิบบันดุง มาดูรา ยูไนเต็ด

สโมสรที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด

[แก้]
สโมสร ชนะเลิศ (ครั้ง) รองชนะเลิศ (ครั้ง) ฤดูกาลชนะเลิศ ฤดูกาลรองชนะเลิศ
เปอร์ซีปูราจายาปูรา
3
3
2008–09, 2010–11, 2013 2009–10, 2011–12, 2014
บาหลี ยูไนเต็ด
2
1
2019, 2021–22 2017
อาเรมา
1
2
2009–10 2010–11, 2013
เปอร์ซิบบันดุง
2
1
2014, 2023–24 2021–22
เปเอ็ซเอ็ม มากัซซาร์
1
1
2022–23 2018
ซรีวีจายา
1
0
2011–12
บายังการา
1
0
2017
เปอร์ซีจาจาการ์ตา
1
0
2018
เปอร์ซีวาวาเมนา
0
1
2008–09
เปอร์เซบายาซูราบายา
0
1
2019
มาดูรา ยูไนเต็ด
0
1
2023–24

อันดับผู้ทำประตูสูงสุด

[แก้]
อันดับผู้ทำประตูสูงสุดตลอดกาลใน
อินโดนีเซียซูเปอร์ลีก
อันดับ ผู้เล่น จำนวนประตู
1 อินโดนีเซีย โบอัซ โซลซซา 84
2 อินโดนีเซียอุรุกวัย กริสตียัน กอนซาเลซ 82
3 บราซิล Beto 80
4 แคเมอรูน Herman Dzumafo Epandi 65
5 ปารากวัย อัลโด บาเรตโต 64
6 อินโดนีเซีย บัมบัง ปามุงกัซ 61
7 เซนต์คิตส์และเนวิส คีท กัมส์ 61
8 ไลบีเรีย Boakay Eddie Foday 61
(ตัวหนา หมายถึง ผู้เล่นที่ยังคงเล่นในอินโดนีเซียซูเปอร์ลีก)

ผู้สนับสนุน

[แก้]

อื่น ๆ

[แก้]
  • 2015: แบงก์ปาปัว (เฉพาะรางวัลประจำเดือน)[8]

การถ่ายทอดสด

[แก้]
  • 2008–2013: วีวากรุ๊ป[9]
  • 2014: วีวากรุ๊ป และ เอ็มเอ็นซีกรุ๊ป[10]
  • 2015: เน็ตทีวี, แม็ตทริกการูดา, บิ๊กทีวี, โดมิกาโด และ เอ็มเอ็นซีกรุ๊ป[11][12]
  • 2019 - ปัจจุบัน: อินโดซียาร์, UseeTV (Streaming Platform)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "15 Klub Ikuti Liga Primer Indonesia" (ภาษาอินโดนีเซีย). สืบค้นเมื่อ 3 April 2015.
  2. "ISL dan IPL Akhirnya Bersatu" (ภาษาอินโดนีเซีย). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-07. สืบค้นเมื่อ 3 April 2015.
  3. "BRI Diperkenalkan sebagai Sponsor Utama Baru Liga 1 pada 12 Agustus 2021". bola.com (ภาษาอินโดนีเซีย). 5 August 2021. สืบค้นเมื่อ 5 August 2021.
  4. "Liga 1 2019: Barito Putera Tak Bisa Gunakan Stadion 17 Mei Selama Tiga Musim | Goal.com". goal.com (ภาษาอินโดนีเซีย). สืบค้นเมื่อ 9 June 2019.
  5. "ISL 2014 Kemungkinan Tanpa Sponsor Rokok" (ภาษาอินโดนีเซีย). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-27. สืบค้นเมื่อ 3 November 2014.
  6. "PT Liga Indonesia Gaet Sponsor Senilai Rp1,5 Triliun" (ภาษาอินโดนีเซีย). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-10. สืบค้นเมื่อ 3 November 2014.
  7. "Ini Logo Dan Sponsor Utama Liga 1 2019 Goal.com" (ภาษาอินโดนีเซีย). สืบค้นเมื่อ 21 January 2020.
  8. "PT Liga Gandeng Bank Papua" (ภาษาอินโดนีเซีย). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-19. สืบค้นเมื่อ 3 November 2014.
  9. "PT. LI (ISL)" (ภาษาอินโดนีเซีย). สืบค้นเมื่อ 28 October 2014.
  10. "MNC Group Siarkan ISL bersama VIVA Group" (ภาษาอินโดนีเซีย). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-28. สืบค้นเมื่อ 28 October 2014.
  11. "Inilah Saluran Yang Menyiarkan Langsung ISL 2015" (ภาษาอินโดนีเซีย). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-02-05. สืบค้นเมื่อ 15 February 2015.
  12. "MNC Group dan NET TV Pegang Hak Siar ISL 2015" (ภาษาอินโดนีเซีย). สืบค้นเมื่อ 4 April 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]